ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศปากีสถานในเครือจักรภพ"

แทนที่ "เครือรัฐ" → "อธิรัฐ" ด้วยสจห.
(แทนที่ "เครือรัฐ" → "อธิรัฐ" ด้วยสจห.)
{{Infobox Former Country
|native_name =
|conventional_long_name = เครือรัฐอธิรัฐปากีสถาน<ref>มาตรา 1 แห่งพระราชบัญญติอิสรภาพของอินเดีย ค.ศ. 1947 บัญญัติไว้ว่า ''"และตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 1947 เป็นต้นไป เครือรัฐอธิรัฐเอกราชทั้งสองจะถูกตั้งขึ้นในอินเดีย ซึ่งจะเป็นที่รู้จักในชื่อ "อินเดีย" และ "ปากีสถาน" ตามลำดับ"''</ref>
|common_name =ปากีสถาน
|status =
|symbol_type = ตราแผ่นดิน
|image_map = Dominion of Pakistan & Indian Controlled Kashmir (orthographic projection).svg
|image_map_caption = เครือรัฐอธิรัฐปากีสถาน ค.ศ. 1956
|
|capital = [[การาจี]]<!--NOT ISLAMABAD: ISLAMABAD BECAME THE CAPITAL OF THE ISLAMIC REPUBLIC AND WAS NEVER THE CAPITAL OF THE DOMINION-->
}}
 
'''ประเทศปากีสถาน''' ({{lang-bn|পাকিস্তান অধিরাজ্য}} [[ภาษาอูรดู|อูรดู]]: مملکتِ پاکستان) ระหว่างปี ค.ศ. 1947–1956 หรือเรียกอย่างเข้าใจว่า '''เครือรัฐอธิรัฐปากีสถาน''' ({{lang-en|Dominion of Pakistan}}) เป็นประเทศเอกราชในทวีปเอเชียใต้ จัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1947 เมื่อรัฐสภาอังกฤษได้ตรา[[พระราชบัญญัติอิสรภาพของอินเดีย ค.ศ. 1947]] ขึ้น ซึ่งตามพระราชบัญญัติดังกล่าวได้แบ่ง[[บริติชราช|จักรวรรดิอินเดีย]]ออกเป็นสองเครือรัฐอธิรัฐเอกราช คือ อินเดีย และ ปากีสถาน โดยทั้งสองเครือรัฐอธิรัฐต่างมีเอกราชเป็นของตนเองโดยยอมรับกษัตริย์อังกฤษเป็นพระเจ้าแผ่นดิน
 
เครือรัฐอธิรัฐปากีสถานกินพื้นที่ในส่วนที่เป็น[[ประเทศปากีสถาน]]และ[[ประเทศบังกลาเทศ]]ในปัจจุบัน โดยส่วนที่เป็นประเทศปากีสถานในปัจจุบันนั้นเรียกว่า "ปากีสถานตะวันตก" และส่วนที่เป็นประเทศบังกลาเทศในปัจจุบันนั้นเรียกว่า "เบงกอลตะวันออก" สาเหตุที่อังกฤษแยกเครือรัฐอธิรัฐปากีสถานออกมาจากอินเดียก็เพื่อต้องการให้ปากีสถานและบังกลาเทศเป็นรัฐที่อยู่ของชาวมุสลิมในอดีต[[บริติชราช]]จากผลของ[[ทฤษฎีสองชาติ]]
 
เครือรัฐอธิรัฐปากีสถานสิ้นสุดลงในวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1956 เมื่อได้มีการสถาปนารัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐปากีสถานขึ้นโดยมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ และถือเป็นชาติสมาชิกใน[[เครือจักรภพแห่งประชาชาติ]]
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
33,226

การแก้ไข