ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้านรสีหบดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
พระองค์เสด็จสวรรคตด้วยถูกปลงพระชนม์โดยการวางยาพิษจากราชโอรสพระองค์รองนาม สีหสุ (Thihathu) ซึ่งขณะนั้นได้ครองเมือง[[แปร]] จากนั้นราชวงศ์พุกามก็ได้ล่มสลายลงพร้อมกับชัยชนะของมองโกลที่มีอำนาจเหนือภูมิภาคตอนบนของพม่า
 
กว่า 250 ปี ที่ราชวงศ์พุกามปกครองมีอำนาจในพื้นที่ลุ่มน้ำ[[อิรวดี]] ผืนแผ่นดินอาณาจักรได้กลับไปแตกแยกเป็นแคว้นเล็กเมืองน้อยอีกครั้ง สภาพสุญญากาศทางการปกครอง สภาวะไร้ผู้นำได้ดำเนินต่อไปอีกกว่า 250 ปี จนกระทั่งการอุบัติขึ้นมาของ[[ราชวงศ์ตองอู]]ที่ได้รวบรวมอาณาจักรให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้งในช่วงกลาง[[คริสต์ศตวรรษที่ 16]]
 
== รัชกาล ==
พระเจ้านรสีหบดีเป็นพระราชโอรสใน[[พระเจ้าอุซะนา]]และพระนางอะซอ หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าอุซะนาราชบิดาจากอุบัติเหตุในการล่าสัตว์เมื่อปี ค.ศ.1254 พระเจ้านรสีหบดีก็ได้ครองราชบัลลังก์พุกามโดยการแย่งชิงจากพระเชษฐาด้วยความช่วยเหลือบงการของมหาเสนาบดีราชสิงคาล ผู้ซึ่งเชื่อว่าจะสามารถเชิดกษัตริย์องค์ใหม่ที่มาจากเจ้าชายอ่อนพระชันษานี้ได้ แต่กษัตริย์หนุ่มได้แปรเปลี่ยนท่าทีที่หัวอ่อนเป็นกระด้างกระเดื่อง หยิ่งยะโส โกรธกริ้วและกักขฬะ พระองค์ทรงสั่งเนรเทศราชสิงคาลแทบจะทันทีที่ครองราชย์ แต่ต่อมาไม่นานพระองค์ก็ทรงจำใจเรียกกลับมาใช้งานเพื่อปราบกบฏในแคว้น[[ยะไข่]]และแถบ[[ตะนาวศรี]] ราชสิงคาลปราบกบฏสำเร็จแต่ก็มิได้หวนกลับคืนมา ราชสิงคาลเสียชีวิตระหว่างเดินทัพกลับ นับแต่นี้ไปพระเจ้านรสีหบดีจะหามีหอกข้างแคร่มารบกวนอาสน์ราชบัลลังก์ได้อีก
 
พระเจ้านรสีหบดีเป็นกษัตริย์ผู้ไร้ความสามารถอย่างสมบูรณ์แบบ ไม่ว่าจะเรื่องการปกครองบริหารภายในราชอาณาจักรหรือกิจการกับต่างชาติ เฉกเช่นพระราชบิดาและพระอัยกาบุพกษัตริย์ทั้งสองก่อนหน้าพระองค์ พระองค์ล้มเหลวในการจัดการพระราชทรัพย์และบริหารท้องพระคลังซึ่งร่อยหรอลงทุกปีๆ สืบเนื่องมาจากการยกเว้นภาษีที่ดินให้แก่ธรณีสงฆ์ นอกจากนี้เมื่อเปรียบกับพระอัยกา คือ [[:en:Kyaswa|พระเจ้ากะยอชวาจะซวา]] ที่มักโปรดสร้างพระเจดีย์ขนาดเล็กมากกว่าที่จะบังคับเกณฑ์แรงงานมากมายแล้ว พระเจ้านรสีหบดีกลับมักโปรดที่จะสร้างพระเจดีย์อย่างหรูหราฟุ่มเฟือย เช่น [[:en:Mingalazedi_Pagoda|มิงคละเจดีย์]] ที่บังคับเกณฑ์แรงงานจำนวนมาก จนผู้คนต่างก่นด่าสาปแช่ง โดยมีเสียงร่ำลือว่า "วันที่เจดีย์สร้างสำเร็จสิ้นนั้น จักเป็นวันถึงฆาตของกษัตริย์"
พระเจ้านรสีหบดีเป็นพระราชโอรสใน[[พระเจ้าอุซะนา]]และพระนางอะซอ
 
แต่เงาทมิฬที่แท้จริงของราชวงศ์พุกามและพระเจ้านรสีหบดีนั้นมิใช่เงาของเจดีย์ แต่คือเงาของผืนธงกองทัพมองโกลจากทางเหนือ ในช่วงเวลานั้นทัพมองโกลได้เข้ายึด[[มณฑลยูนนาน]]ได้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1253 เมื่อมาถึงปี ค.ศ. 1271 แม่ทัพเขตยูนนานภายใต้การนำของ[[กุบไลข่าน]]จักรพรรดิมองโกลในขณะนั้นได้ส่งทูตมาเจรจาเรียกร้องเครื่องบรรณาการกับพระเจ้านรสีหบดี แต่พระองค์ปฏิเสธ แม้ทางมองโกลจะส่งทูตมาอีกครั้งในปี ค.ศ. 1273 พระองค์ก็ยังทรงยืนกรานปฏิเสธพร้อมกับสั่งประหารทูตมองโกลผู้นั้นเป็นเครื่องยืนยัน
หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าอุซะนาราชบิดาจากอุบัติเหตุในการล่าสัตว์เมื่อปีค.ศ.1254 พระเจ้านรสีหบดีก็ได้ครองราชบัลลังก์พุกามโดยการแย่งชิงจากพระเชษฐาด้วยความช่วยเหลือบงการของมหาเสนาบดีราชสิงคาล ผู้ซึ่งเชื่อว่าจะสามารถเชิดกษัตริย์องค์ใหม่ที่มาจากเจ้าชายอ่อนพระชันษานี้ได้ แต่กษัตริย์หนุ่มได้แปรเปลี่ยนท่าทีที่หัวอ่อนเป็นกระด้างกระเดื่อง หยิ่งยะโส โกรธกริ้วและกักขฬะ พระองค์ทรงสั่งเนรเทศราชสิงคาลแทบจะทันทีที่ครองราชย์ แต่ต่อมาไม่นานพระองค์ก็ทรงจำใจเรียกกลับมาใช้งานเพื่อปราบกบฏในแคว้น[[ยะไข่]]และแถบ[[ตะนาวศรี]] ราชสิงคาลปราบกบฏสำเร็จแต่ก็มิได้หวนกลับคืนมา ราชสิงคาลเสียชีวิตระหว่างเดินทัพกลับ นับแต่นี้ไปพระเจ้านรสีหบดีจะหามีหอกข้างแคร่มารบกวนอาสน์ราชบัลลังก์ได้อีก
 
ปีคปี ค.ศ. 1277 ทัพมองโกลได้เริ่มบุกเข้ามายังอาณาจักรพุกามเป็นครั้งแรก ฝ่ายพุกามได้พ่ายแพ้อย่างราบคาบใน[[:en:Battle_of_Ngasaunggyan|ศึกงาสะอองยาน]] สงครามได้ดำเนินต่อไปอีกหลายปี แม้ในปี ค.ศ. 1284 จะมีการพยายามเจรจาทางการทูตจากฝ่ายพุกามโดยส่งราชทูตทิศาปาโมกขะ ไปยังราชสำนักมองโกลของกุบไลข่านก็ตาม ก็ไม่เป็นผลแต่อย่างใด เมื่อล่วงเข้าปี ค.ศ. 1287 กองทัพมองโกลภายใต้การนำโดยพระนัดดาของกุบไลข่าน บุกตะลุยยึดครองทั้งหมดของใจกลางอาณาจักรพุกาม พระเจ้านรสีหบดีเสด็จลี้ภัยไปทางใต้สู่เมืองแปรที่มีราชโอรสพระองค์รองสีหสุปกครองอยู่ แต่พระองค์ทรงเหลือจะคาดคิดได้ว่า สีหสุได้จับกุมตัวพระองค์ไว้และถวายโอสถพิษให้่ให้ เพื่อที่จะมิต้องหลั่งพระโลหิตถึงธรณีด้วยคมดาบ มีคำร่ำลือกันว่า คำอธิษฐานสุดท้ายของพระองค์คือ "เกิดชาติหน้าฉันใด ไม่ขอมีบุตรชายอีก" จากนั้นเสวยโอสถพิษและสวรรคต
พระเจ้านรสีหบดีเป็นกษัตริย์ผู้ไร้ความสามารถอย่างสมบูรณ์แบบ ไม่ว่าจะเรื่องการปกครองบริหารภายในราชอาณาจักรหรือกิจการกับต่างชาติ เฉกเช่นพระราชบิดาและพระอัยกาบุพกษัตริย์ทั้งสองก่อนหน้าพระองค์ พระองค์ล้มเหลวในการจัดการพระราชทรัพย์และบริหารท้องพระคลังซึ่งร่อยหรอลงทุกปีๆ สืบเนื่องมาจากการยกเว้นภาษีที่ดินให้แก่ธรณีสงฆ์ นอกจากนี้เมื่อเปรียบกับพระอัยกา คือ [[:en:Kyaswa|พระเจ้ากะยอชวา]] ที่มักโปรดสร้างพระเจดีย์ขนาดเล็กมากกว่าที่จะบังคับเกณฑ์แรงงานมากมายแล้ว พระเจ้านรสีหบดีกลับมักโปรดที่จะสร้างพระเจดีย์อย่างหรูหราฟุ่มเฟือย เช่น [[:en:Mingalazedi_Pagoda|มิงคละเจดีย์]] ที่บังคับเกณฑ์แรงงานจำนวนมาก จนผู้คนต่างก่นด่าสาปแช่ง โดยมีเสียงร่ำลือว่า "วันที่เจดีย์สร้างสำเร็จสิ้นนั้น จักเป็นวันถึงฆาตของกษัตริย์"
 
{{เริ่มกล่อง}}
แต่เงาทมิฬที่แท้จริงของราชวงศ์พุกามและพระเจ้านรสีหบดีนั้นมิใช่เงาของเจดีย์ แต่คือเงาของผืนธงกองทัพมองโกลจากทางเหนือ ในช่วงเวลานั้นทัพมองโกลได้เข้ายึด[[มณฑลยูนนาน]]ได้ตั้งแต่ปีค.ศ. 1253 เมื่อมาถึงปีค.ศ. 1271 แม่ทัพเขตยูนนานภายใต้การนำของ[[กุบไลข่าน]]จักรพรรดิมองโกลในขณะนั้นได้ส่งทูตมาเจรจาเรียกร้องเครื่องบรรณาการกับพระเจ้านรสีหบดี แต่พระองค์ปฏิเสธ แม้ทางมองโกลจะส่งทูตมาอีกครั้งในปีค.ศ. 1273 พระองค์ก็ยังทรงยืนกรานปฏิเสธพร้อมกับสั่งประหารทูตมองโกลผู้นั้นเป็นเครื่องยืนยัน
 
ปีค.ศ. 1277 ทัพมองโกลได้เริ่มบุกเข้ามายังอาณาจักรพุกามเป็นครั้งแรก ฝ่ายพุกามได้พ่ายแพ้อย่างราบคาบใน[[:en:Battle_of_Ngasaunggyan|ศึกงาสะอองยาน]] สงครามได้ดำเนินต่อไปอีกหลายปี แม้ในปีค.ศ. 1284 จะมีการพยายามเจรจาทางการทูตจากฝ่ายพุกามโดยส่งราชทูตทิศาปาโมกขะ ไปยังราชสำนักมองโกลของกุบไลข่านก็ตาม ก็ไม่เป็นผลแต่อย่างใด เมื่อล่วงเข้าปีค.ศ. 1287 กองทัพมองโกลภายใต้การนำโดยพระนัดดาของกุบไลข่าน บุกตะลุยยึดครองทั้งหมดของใจกลางอาณาจักรพุกาม พระเจ้านรสีหบดีเสด็จลี้ภัยไปทางใต้สู่เมืองแปรที่มีราชโอรสพระองค์รองสีหสุปกครองอยู่ แต่พระองค์ทรงเหลือจะคาดคิดได้ว่า สีหสุได้จับกุมตัวพระองค์ไว้และถวายโอสถพิษให้่ เพื่อที่จะมิต้องหลั่งพระโลหิตถึงธรณีด้วยคมดาบ
 
:มีคำร่ำลือกันว่า คำอธิษฐานสุดท้ายของพระองค์คือ "เกิดชาติหน้าฉันใด ไม่ขอมีบุตรชายอีก" จากนั้นเสวยโอสถพิษและสวรรคต
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
| ก่อนหน้า = [[พระเจ้าอุซะนา]]<br />{{เล็ก|[[อาณาจักรพุกาม|ราชวงศ์พุกาม]]}}
| ตำแหน่ง = พระเจ้านรสีหบดี [[รายพระนามพระมหากษัตริย์พม่า|พระมหากษัตริย์พม่า]]<br /> ([[อาณาจักรพุกาม|อาณาจักรพม่ายุคที่ 1]])
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์พุกาม
| ปี = [[พ.ศ. 1799|1799]] - [[พ.ศ. 1830|1830]]
| ถัดไป = [[ราชวงศ์ตองอู]]<br />{{เล็ก|[[อาณาจักรตองอู|ราชวงศ์ตองอู]]}} |
}}
{{จบกล่อง}}
 
{{อายุขัย|1781|1830}}
{{พุกาม}}
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1781]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์พม่า]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์พุกาม]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์พม่าที่ถูกปลงพระชนม์]]
{{lifetime|1238|1287}}
[[หมวดหมู่:เสียชีวิตจากยาพิษ]]