ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
(เก็บกวาดบทความด้วยบอต)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kanchanaburi Campus
| ชื่อย่อ = MUKA
| คำขวัญ = อตฺตานํ อุปมํ กเร<br>(พึงปฏิบัติต่อผู้อื่น เหมือนดังปฏิบัติต่อตนเอง) <ref>[http://ka.mahidol.ac.th/th/images/aboutUS/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A5%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%8D%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%20%E0%B8%9E.%E0%B8%A8.2559%20-%202562.pdf แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี 2559-2562]</ref>
| ปรัชญา = เรียนรู้อย่างบูรณาการ ประสานชุมชน สู่สากลอย่างยั่งยืน
| ปณิธาน = Wisdom of the West<br>(ปัญญาแห่งภูมิภาคตะวันตก)
| วิสัยทัศน์ = เป็นผู้นำการศึกษาและวิชาการแบบบูรณาการบนฐานทรัพยากรในภูมิภาคตะวันตกของอาเซียน
| วันที่ก่อตั้ง = [[18 เมษายน]] [[พ.ศ. 2541]]
| คณบดี = ผศ.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เชิญโชค ศรขวัญ
| ต้นไม้ = [[กันภัยมหิดล]]
| ที่อยู่ = '''มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี'''199 หมู่ 9 ถนนแสงชูโต ตำบลลุ่มสุ่ม อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี 71150
}}
 
'''มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี''' เป็นส่วนงานระดับคณะ สังกัด[[มหาวิทยาลัยมหิดล]] ได้ยกฐานะขึ้นเมื่อวันที่ [[20 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2552]] ซึ่งผลิตบัณฑิตในหลายสาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิทยาศาสตร์ , สาขาบริหารธุรกิจ , สาขาบัญชี และสาขาวิศวกรรมศาสตร์
 
* ปรัชญา = เรียนรู้อย่างบูรณาการ ประสานชุมชน สู่สากลอย่างยั่งยืน
* ปณิธาน = Wisdom of the West (ปัญญาแห่งภูมิภาคตะวันตก)
* วิสัยทัศน์ = เป็นผู้นำการศึกษาและวิชาการแบบบูรณาการบนฐานทรัพยากรในภูมิภาคตะวันตกของอาเซียน
 
''' วัฒนธรรมองค์กร '''
 
I - Integrity มั่นคงยิ้งในคุณธรรม
 
D - Determination แน่วแน่ทำ กล้าตัดสินใจ
 
O - Originality สร้างสรรค์สิ่งใหม่
 
L - Leadership ใฝ่ใจเป็นผู้นำ
 
K - Kindness เลิศล้ำเมตตา
 
A - Adaptability ละอัตตาพร้อมปรับตัว
 
== ประวัติ ==
วันที่ [[18 เมษายน]] [[พ.ศ. 2541]] [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลเดช]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร|สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ไปทรงวางศิลาฤกษ์ '''“มหาวิทยาลัยมหิดล ณ กาญจนบุรี”''' (ในขณะนั้น) ณ หมู่บ้านไตรรัตน์ ตำบลลุ่มสุ่ม อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี
 
เมื่อวันที่ [[20 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2538]] คณะรัฐมนตรี ได้มีมติให้มหาวิทยาลัยมหิดลรับภารกิจในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล ณ กาญจนบุรี ในโครงการขยายการศึกษาขั้นอุดมศึกษาไปสู่ภูมิภาค [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] จึงจัดตั้งโครงการจัดตั้งมหาวิทยามหิดล ณ กาญจนบุรี ขึ้นในสังกัดสำนักงานอธิการบดีในปี [[พ.ศ. 2538]] ซึ่งจากการประสานงานระหว่าง รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ผู้แทนจังหวัดกาญจนบุรีและอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ได้เห็นชอบที่จะให้มหาวิทยาลัยมหิดลขยายวิทยาเขตการศึกษาไปที่จังหวัดกาญจนบุรี โดยจังหวัดได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการการจัดหาที่ดินเพื่อเป็นที่ตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นใหม่ เพื่อทำหน้าที่สำรวจ ตรวจสอบและศึกษา พื่นที่แปลงต่างๆ ที่เหมาะสม โดยได้เสนอพื้นที่ให้มหาวิทยาลัยพิจารณารวม 3 แห่ง คือ อำเภอห้วยกระเจา อำเภอพนมทวน และอำเภอไทรโยค
 
วันที่ [[5 เมษายน]] [[พ.ศ. 2538]] คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย และคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดลได้เดินทางไปสำรวจพื้นที่ที่จังหวัดเสนอไว้ทั้ง 3 แห่ง และ[[มหาวิทยาลัยมหิดล ]]ได้มีมติให้เลือกพื้นที่บริเวณอำเภอไทรโยค ซึ่งตั้งอยู่ที่บ้านไตรรัตน์ หมู่ที่ 9 ตำบลลุ่มสุ่ม อำเภอโทรโยค เนื้อที่ประมาณ 6,000 ไร่ และบางส่วนอยู่ติดกับทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 323 (กาญจนบุรี – ทองผาภูมิ) เป็นสถานที่ตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล ณ กาญจนบุรี
 
เมื่อวันที่ [[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2540]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] ได้เริ่มก่อสร้างอาคารเรียนรวมและอาคารอำนวยการขึ้นเป็นจุดแรกของพื้นที่ก่อสร้าง ซึ่งเป็นภาพความทรงจำและความภาคภูมิใจ ที่ชาวจังหวัดกาญจนบุรี และบุคลากรที่เข้ามามีส่วนร่วมในการเริ่มก่อตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล ณ กาญจนบุรี เป็นที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน อำเภอไทรโยค สภาพเป็นที่ราบสูงและภูเขา เป็นที่ดินจำนวน 58 แปลงเนื้อที่ประมาณ 4,000 ไร่ นอกจากนี้เพื่อให้มหาวิทยาลัยมีสถานที่สวยงานสำหรับการประชุมและสัมมนา ชาวจังหวัดกาญจนบุรียังได้จัดซึ้งที่ดินติดริมแม่น้ำแควน้อย ในเขตสุขาภิบาลลุ่มสุ่ม อำเภทโทรโยค จำนวน 24 ไร่ 1 งาน 67 ตารางวา มอบให้แก่มหาวิทยาลัยอีกด้วย
 
วันที่ [[20 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2552]] มีประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง การจัดตั้งส่วนงานของมหาวิทยาลัยมหิดล [[พ.ศ. 2552]] เพื่อให้การบริหารงานของมหาวิทยาลัยมหิดลมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล [[พ.ศ. 2550]] จึงได้ออกประกาศให้มหาวิทยาลัยมหิดล แบ่งส่วนงานออกเป็น 2 สำนักงาน 1 วิทยาเขต 17 คณะ 7 สถาบัน 5 วิทยาลัย 1 หอสมุดฯ (จากราชกิจจานุเบกษา 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เล่ม 126 ตอนที่ 168 ง หน้า 120-121) โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล ณ กาญจนบุรี จึงยกฐานะเป็น '''มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี''' นับตั้งแต่บัดนั้นมาจนถึงปัจจุบัน <ref> ราชกิจจานุเบกษา,[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2552/E/169/120.PDF การจัดตั้งส่วงานของมหาวิทยาลัยมหิดล], 16 กันยายน พ.ศ. 2552</ref>
 
== ทำเนียบรองอธิการบดีวิทยาเขตกาญจนบุรี ==
|-
| align = "left"| 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไพโรจน์ สุวรรณสุทธิ
| [[16 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2542]] - [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2545]]
|-
| align = "left"| 2. รองศาสตราจารย์ ดร.นพดล ไชยคำ
| [[17 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2545]] - [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]]
|-
| align = "left"| 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นคร เหมะ
| [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]] (วาระที่ 1)
|-
| align = "left"| 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา สุนทรานันท์ (รักษาการ)
== โครงสร้างการบริหารงาน ==
=== ''' สำนักวิชาสหวิทยาการ ''' ===
{{บน}}
* [http://ka.mahidol.ac.th/division/agricultural_science/ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร]
* [http://ka.mahidol.ac.th/division/food_technology/ สาขาวิชาอุตสาหกรรมอาหาร]
* [http://ka.mahidol.ac.th/division/conservation_biology/สาขาวิชาอุตสาหกรรมอาหาร
* สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพและทรัพยากรธรรมชาติ]
* [http://ka.mahidol.ac.th/division/geoscience/ สาขาวิชาธรณีศาสตร์]
{{กลาง}}
* [http://ka.mahidol.ac.th/division/engineering/ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์]
* [http://ka.mahidol.ac.th/division/commerce_and_management/index.html สาขาวิชาพาณิชยศาสตร์และการจัดการ]
* [http://ka.mahidol.ac.th/division/sciences_and_liberal_arts/ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์พาณิชยศาสตร์และศิลปศาสตร์]การจัดการ
* สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์
{{ล่าง}}
 
=== ''' สำนักงานวิทยาเขตกาญจนบุรี ''' ===
* กลุ่มงานการศึกษาและวิชาการ
** [http://ka.mahidol.ac.th/education/ งานการศึกษา]
** [http://ka.mahidol.ac.th/division/research_academic_supports/ งานวิจัยและส่งเสริมวิชาการ]
** [http://ka.mahidol.ac.th/ClinicTechnology/ งานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ]
 
* กลุ่มงานบริหาร
** [http://ka.mahidol.ac.th/division/administation_office/ งานธุรการสำนักวิชาสหวิทยาการ]
** [http://ka.mahidol.ac.th/division/general_administration/ หน่วยสารบรรณ]
** [http://ka.mahidol.ac.th/division/general_administration/ หน่วยทรัพยากรบุคคล]
** [http://ka.mahidol.ac.th/division/general_administration/ หน่วยเลขานุการ]
 
* กลุ่มวางแผนและพัฒนาคุณภาพ
** [http://ka.mahidol.ac.th/division/finance_and_procurement/ งานคลังและพัสดุ]
** [http://ka.mahidol.ac.th/division/general_administration_planandknowledge/policyAndplan/index.html หน่วยนโยบายและแผน]
** [http://ka.mahidol.ac.th/division/general_administration_planandknowledge/library/index.html หน่วยหอสมุดและคลังความรู้]
 
* กลุ่มงานสร้างเสริมภาพลักษณ์องค์กร
** [http://ka.mahidol.ac.th/division/physical_and_environmental/index.php งานกายภาพและสิ่งแวดล้อม]
** [http://ka.mahidol.ac.th/division/community_network_and_academic_service/ งานสื่อสารองค์กรและเทคโนโลยีสารสนเทศ]
** [http://ka.mahidol.ac.th/division/physical_and_environmental/01_00_aboutus.html หน่วยอาคารที่พักอาศัยและศูนย์พัฒนาฝึกอบรม]
 
=== ''' ส่วนงานอื่นๆ ''' ===
* [http://www.tm.mahidol.ac.th/tdrc/ ศุนย์วิจัยโรคเขตร้อนกาญจนบุรี คณะเวชศาสตร์เขตร้อน]
* [http://www.vs.mahidol.ac.th/livestock/ โรงพยาบาลปศุสัตว์และสัตว์ป่า ปศุปาลัน คณะสัตวแพทยศาสตร์]
* [http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsrbeta/th/Index.aspx ศูนย์วิจัยประชากรและสังคมกาญจนบุรี สถาบันวิจัยและประชากรสังคม]
 
== หลักสูตร ==
** สาขาเทคโนโลยีการอาหาร (Food Technology)
** สาขาชีววิทยาเชิงอนุรักษ์ (Conservation Biology)
** สาขาธรณีศาสตร์ (GeoscienceGeo science)
 
* หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
 
== พิพิธภัณฑ์ ==
'''พิพิธภัณฑ์พืช (HerbariumHer barium)''' อาจเปรียบเทียบได้กับหอสมุดพรรณไม้ โดยเป็นแหล่งข้อมูลต่างๆ ของพืช และส่วนสำคัญที่สุด คือ เป็นที่เก็บรวบรวมพันธุ์ไม้รักษาสภาพ ซึ่งทำการเก็บเป็นตัวอย่างแห้ง ที่จัดเป็นหมวดหมู่อย่างมีระบบ
 
นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างในสภาพอื่นๆ เช่น ตัวอย่างดอง ภาพถ่าย ภาพวาด ตัวอย่างเนื้อไม้ เปลือกไม้ ซากดึกดำบรรพ์ (fossil) หนังสือ ตำราเกี่ยวกับพันธุ์ไม้ทั้งทางด้านอนุกรมวิธาน นิเวศวิทยา ธรรมชาติวิทยา พฤกษศาสตร์เศรษฐกิจ เป็นต้น
382

การแก้ไข