ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นะ (วิญญาณ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Thagyamin Nat.jpg|thumb|150px|ตะจาเมงหรือ[[ท้าวสักกะ]] ([[พระอินทร์]]) ประมุขแห่งนัตทั้งปวง]]
'''นัต''' ({{MYname|MY=[[ไฟล์:Nat.png]]‌|MLCTS=nat}}; {{lang-en|nat}}; {{IPA2|naʔ}}) ออกเสียง ''น่ะต์'' (มาจากคำว่า ''นาถะ'' ใน[[ภาษาบาลี]] ที่แปลว่า "ที่พึ่ง") หมายถึง[[ผี]]ของชาวพม่า เป็นความเชื่อพื้นเมืองที่มีมาก่อนที่[[พุทธศาสนา]]จะเข้ามาในพม่า นัตเป็นผีบรรพบุรุษ ลักษณะกึ่งผีกึ่ง[[เทวดา]] คล้าย[[เทพารักษ์]] คอยดูแลคุ้มครองสถานที่ที่ตนมีความสัมพันธ์เมื่อครั้งยังมีชีวิตมีความสัมพันธ์อยู่ แต่ไม่มีฤทธานุภาพเทียบเท่าเทวดา<ref name=พ/> โดยอาจจะมีศาลลักษณะคล้ายศาลเพียงตาตั้งบูชาอยู่ในสถานที่นั้น ๆ
 
แต่เดิม นัตเป็นเพียงผีหรือวิญญาณทั่วไปที่สิงสถิตย์ตามธรรมชาติ เช่น แม่น้ำ หรือภูเขา แต่เมื่อกาลเวลาเปลี่ยนผ่านไป จึงมีความเชื่อว่านัตเริ่มมีตัวตนและเริ่มผูกพันเข้ากับการตายของผู้คน จึงกลายเป็นสภาพผีนัตอย่างที่เชื่ออยู่ในปัจจุบัน
 
เมื่อ[[พระเจ้าอโนรธามังช่อ]] แห่ง[[อาณาจักรพุกาม|ราชวงศ์พุกาม]] นำศาสนาพุทธนิกายเถรวาทจากอาณาจักรมอญเข้าสู่อาณาจักรพม่า ใน[[พุทธศตวรรษที่ 18]] ความเชื่อเรื่องนัตจึงถูกผสมผสานเข้ากับศาสนาพุทธ โดยยกเลิกการบูชานัตตามแบบพื้นบ้าน และนัตถูกยกระดับให้เป็นนัตหลวง คือ นัตระดับประเทศ พระองค์ได้ทำการตั้งศาลนัตหลวงขึ้นที่[[เขาโปปา]] หรือที่เรียกว่า มหาคีรีนัต 1,300 เมตร ใกล้เมืองพุกาม โดยมีทั้งหมด 37 องค์ตน โดยองค์นัตที่สำคัญคือ นัตตัจจาเมง หรือ นัตสักรา ([[พระอินทร์]]), นัต[[พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้]], นัตโยนบะเยง (นัต[[พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์]]) เป็นต้น
 
โดยบุคคลที่จะได้รับการรับถือนับถือเป็นนัตนั้น ต้องมาจากเป็นผู้ที่มีคนยกย่องนับถือหรือมีเรื่องราวในขณะมีชีวิตเป็นที่พูดถึงโดยทั่วไป หรือเป็นผู้ที่มีสาเหตุการตายที่ไม่ใช่การตายแบบธรรมดาเป็นที่สลดใจแก่ผู้ที่ได้ยินเรื่องราว กล่าวโดยง่ายคือเช่น [[ผีตายโหง|ตายโหง]] (ตายด้วยโรคปัจจุบันที่ไม่ใช่ด้วยโรคชรา) หรือ ตายห่า ([[อหิวาตกโรค]]หรือตายด้วยโรคระบาดอย่างอื่น) นั่นเอง หรือถูกลอบสังหาร เพราะเชื่อว่าจะมีฤทธานุภาพสูงกว่าผีทั่ว ๆ ไป
 
นัตถูกแบ่งออกได้เป็น 3 จำพวก คือ นัตพุทธ (นัตท้องถิ่นที่ผสมผสานกับความเชื่อทางพุทธศาสนา<ref name=พ/>), นัตใน (นัตท้องถิ่นและนัตที่มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศอินเดีย) และนัตนอก (นัตที่มีถิ่นฐานอยู่นอกกำแพง[[พระมหาธาตุเจดีย์ชเวซีโกน|วัดเจดีย์ชเวสิโกงชเวซีโกน]]) ซึ่งนัตที่สำคัญและผูกพันกับชาวพม่ามากที่สุด คือ นัตนอก หรือนัตหลวง <ref name="นัต"/>
 
== รายชื่อผีนัต ==
[[ไฟล์:MountDistant Popa 002.jpgJPG|thumb|เหล่าผีนัตในวัดบนวิวโดยรอบริเวณภูเขาโปปา ศาลนัตอยู่บนยอดเขาเล็กทางซ้ายของภาพ]]
[[ไฟล์:Mount Popa 002.jpg|thumb|เหล่านัตในศาลบนภูเขาโปปา]]
[[ไฟล์:IMG banana-offering.JPG|thumb|เครื่องบูชานัตแบบดั้งเดิมคือกล้วยและมะพร้าว]]
 
[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ทรงกล่าวไว้ในหนังสือเที่ยวเมืองพม่า กล่าวว่ามีผีนัตถึง 39 ตน เรียกว่า '''นัตมิน''' (กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเรียกว่า ''แน็ตมิน'') หรือ ผีหลวงนัตหลวง และมีตำราว่าด้วยเรื่องผีนัต ชื่อว่ามหาคีตะเมคะนี (Maha Gita Megani) ซึ่งอยู่ในคัมภีร์โลกาพยุหะ อันเป็นตำราประเพณีของพม่า ซึ่งเซอร์ยอช สก็อต เป็นผู้เรียบเรียงหนังสือภิธานเมืองพม่าเหนือ หรือ Upper Burma Gasetteer มีรายชื่อเมืองและประวัติของผีหลวงทั้งนัตหลวงทั้ง 39 ตน บอกถึงธรรมเนียมลงผีนัตซึ่งส่วนใหญ่คนทรงจะเป็นผู้หญิง และผีนัตแต่ละตนจะมีการขับร้อง การฟ้อนรำ เครื่องดนตรี และเพลงเฉพาะตน โดยในวัดเจดีย์ชเวสิโกงชเวสิโกน เมืองพุกาม มีการสร้างผีนัตที่ทำจากไม้ ขนาดเท่าหุ่นกระบอกที่มีครบอยู่ 37 ตนเพียงแห่งเดียว ซึ่งแต่ละตัวต่างแต่งตัวด้วยอาภรณ์หลากสี ตั้งอยู่บนฐานชุกชีในวิหารยาวประมาณ 4 ห้อง มีเพียงรูปเดียวที่มีขนาดเท่าคนจริงสวมเครื่องทรงกษัตริย์ซึ่งคือพระอินทร์ผู้เป็นหัวหน้าแห่งผีนัตทั้งปวง
 
ในหนังสือ''เที่ยวเมืองพม่า'' ของไพรัตน์ สูงกิจบูลย์ได้มีการกล่าวถึงผีนัตว่ามีเพียง 37 ตน โดยในช่วงสมัย[[อาณาจักรพุกาม]] เหลือผีนัตอยู่เพียง 22 ตน ต่อมาได้เพิ่มขึ้นในสมัย[[พระเจ้าอโนรธา]]อีก 15 ตน โดยมีรายนามดังต่อไปนี้<ref>บุญยงค์ เกศเทศ. '''อรุณรุ่งฟ้าฉาน เล่าตำนานคนไท'''. กรุงเทพฯ:หลักพิมพ์, 2548. หน้า 76</ref>
 
===รายชื่อผีนัตเดิม===
{{colbegin}}
 
* '''[[ท้าวสักกะ|ตะจามิน (ท้าวสักกะ)]]''' ถือเป็นเจ้าแห่งผีนัตทั้งปวง
{{บน}}
*งะตินเด หรือ มินมหาคีรีนัต
*ชเวเมี้ยตนา หรือ เจ้านางหน้าทอง
เส้น 29 ⟶ 30:
*เจ้าสีน้ำตาลแห่งทิศใต้
*เจ้าสีขาวแห่งทิศเหนือ
*[[กูนซอ จองบยู|พระเจ้ากูนซอ จองบยู]]
*เจ้าฉัตรขาว
*พระราชมารดาหลวงของเจ้าฉัตรขาว[[กูนซอ จองบยู|พระเจ้ากูนซอ จองบยู]]
*[[จีนโซ|เจ้ามินกองแห่งปะเยมมาเรนมา]]
*เจ้านางทองคำ
{{กลาง}}
*ชายชราต้นกล้วยเดี่ยว
*[[พระเจ้าอลองสิธู]]
*เจ้าสิทธู
*เจ้าชิงช้าหนุ่ม
*เจ้าจ่อส่วยผู้กล้าหาญ
บรรทัด 45:
*เจ้าเทพทองใหญ่
*มารดานักเรียนนายทหารหลวง
{{ล่างcolend}}
 
===รายชื่อผีนัตเพิ่มเติม===
{{บนcolbegin}}
*เจ้าแห่งพระเจ้าห้าช้าง 5 เชือก
*จอมกษัตริย์เจ้าแห่งความยุติธรรม
*หม่องโปตู
*ราชินีแห่งวังตะวันตก
*เจ้าอ่องปินเล เจ้าแห่งพระเจ้าช้างเผือกแห่งอองปินเล
*นางตัวงอ
*นอระธาทอง
*เจ้าอองดิน
{{กลาง}}
*เจ้าขาวน้อย
*เจ้าเณร
เส้น 66 ⟶ 65:
*[[พระเจ้าเมกุฏิสุทธิวงศ์|โยนบะเยง (พระเจ้าเชียงใหม่)]]
*ผู้กล้าหาญ
{{ล่างcolend}}
 
=== รูปลักษณ์ของนัตหลวงทั้ง 37 ตน ===
'''''หมายเหตุ:''' ภาพและชื่อของนัตในที่นี้ได้มาจากหนังสือ "The Thirty Seven Nats" โดย Sir Richard Carnac Temple (พิมพ์เมื่อ ค.ศ.1906) ซึ่งชื่อของนัตที่ปรากฏอาจไม่ตรงกับรายชื่อข้างบน เนื่องจากยังไม่สามารถหาคำแปลเทียบเคียงกับรายชื่อข้างต้นได้''
 
<gallery>
<gallery caption= widths="150px" heights="150px" perrow="4">
ไฟล์:Thagyamin Nat.jpg|သိကြားမင်း<br />ธะจามิน (ตะจาเมง) <br />[[ท้าวสักกะ|พระธะจา (สักกะ)]] ([[พระอินทร์]])
ไฟล์:Mahagiri Nat.jpg|မင်းမဟာဂီရိ<br /> เมงมหาคีรี<br />จ้าวภูเขาหลวง
เส้น 77 ⟶ 76:
ไฟล์:Thonbanhla Nat.jpg|သုံးပန်လ<br />ซนบันลา<br />นางงามสามเวลา
ไฟล์:Taungoo Mingaung Nat.jpg|တောင်ငူ မင်းခေါင်<br />ตาวน์งูเมงกาวง์<br />เจ้าเมงกองแห่งตองอู
ไฟล์:Mintara Nat.jpg|မင်းတရား<br />เมงตะยามินตารา<br />[[พระเจ้าตราพระยาแห่งอังวะ|พระเจ้าตราพระยาตาราพยา]]
ไฟล์:Thandawgan Nat.jpg|သံတော်ခံ<br />ซันดอว์กัง<br />ราชเลขาธิการ
ไฟล์:Shwenawrahta Nat.jpg|ရွှေနော်ရထာ <br />ชเวนอยะทา<br />นอรธาทอง
ไฟล์:Aungzwamagyi Nat.jpg|အောင်စွာမကြီး<br />อ่องสวามะจี
ไฟล์:Ngazishin Nat.jpg|ငါးစီးရှင်<br />งาจีเชงซิชิน<br />[[พระเจ้าจ่อสวาจอซะวาที่ 1]]<br แห่งพินยา|/>(พระเจ้าห้าช้าง]])
ไฟล์:Aung Pinle Hsinbyushin.jpg|အောင်ပင်လယ်ဆင်ဖြူရှင်<br />อ่องปินเลเชงพยูเชงอองปินเลชินบยูชิน<br />[[พระเจ้าสีหสูทิฮาธูแห่งอังวะ|]]<br />(พระเจ้าช้างเผือกแห่งอ่องปินเล]]อองปินเล)
ไฟล์:Shin Nyo Nat.jpg|တောင်မကြီး, ရှင်ညို<br />ต่องมะจี, เชงโญ<br />เจ้าแห่งทิศใต้, เชงโญ
ไฟล์:Shin Byu Nat.jpg|မောင်မင်းရှင်, ရှင်ဖြူ<br />มองเมงเชง, เชงพยู
เส้น 98 ⟶ 97:
ไฟล์:Shwebyin_Nyidaw_Nat.jpg|ရွှေဖျင်းညီတော်<br />ชเวปยินยีดอ<br />เจ้าเทพทองน้อย <br>(นัตสองพี่น้อง)
ไฟล์:Mintha Maungshin Nat.jpg|မင်းသားမောင်ရှင်<br />เมงตามองเชง<br />เจ้าชิงช้าหนุ่ม
ไฟล์:Htibyusaung Nat.jpg|ထီးဖြူဆောင်း<br />กวมส่องจ่องพยูทีพยูซอง<br />[[กวมส่องจ่องพยูกูนซอ จองบยู|เจ้าฉัตรขาวพระเจ้ากูนซอ จองบยู]]
ไฟล์:Htibyusaung Medaw Nat.jpg|ထီးဖြူဆောင်းမယ်တော်<br />ทีพยูซองแมดอพยูซองเมดอ<br />พระราชมารดาแห่งเจ้าฉัตรขาวของ[[กูนซอ จองบยู|พระเจ้ากูนซอ จองบยู]]
ไฟล์:Pareinma Shin Mingaung Nat.jpg|ပရိမ္မပရိမ္မရှင် ရှင်မင်းခေါင်မင်းခေါင်<br />ปะเยมเรนมาฉิ่งเมงเกาง์ชินมินกอง<br />[[กะยิโส|จีนโซ]]<br />(เจ้าเมงกมินกองแห่งปะเยมมา]]เรนมา)
ไฟล์:Min Sithu Nat.jpg|မင်းစည်သူ<br>เมงสิตูมินสิธู<br />[[พระเจ้าอลองสิธู|พระเจ้าสิตู]]
ไฟล์:Min Kyawzwa Nat.jpg|မင်းကျော်စွာ<br />เมงกยอชะวา ([[มังกะยอชวา]])
ไฟล์:Myaukhpet Shinma Nat.jpg|မြောက်ဘက်ရှင်မ<br />มเย้าก์เพะฉิ่งมะ<br />เจ้านางแห่งทิศเหนือ
เส้น 111 ⟶ 110:
 
==การบูชานัต==
[[ไฟล์:Nat-ein.jpg|thumb|รูปแบบของศาลผีนัต]]
ในประเทศพม่า การบูชาหรือประเพณีเกี่ยวกับผีนัต มีตลอดทั้งปี แต่งานเทศกาลเกี่ยวกับนัตที่ใหญ่และมีชื่อเสียงที่สุด คือ หมู่บ้านต่องปะโยง ใน[[เขตมัณฑะเลย์]] เป็นเวลา 6 วัน ในเดือนสิงหาคมของทุกปี เนื่องจากนัตสองพี่น้อง หรือ ชเวปยินยีดอ และชเวปยินนองดอ เคยอาศัยอยู่ในหมู่บ้านแห่งนี้ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโนรธา ซึ่งเชื่อว่าเป็นเชื้อสายแขกผสมพม่า ถูกสั่งประหาร ณ ที่แห่งนี้ เนื่องจากละเลยต่อการขนอิฐสร้างพุทธเจดีย์ตามพระราชบัญชา และกลายเป็นผีมาหลอกหลอนพระเจ้าอโนรธา พระองค์จึงมีบัญชาให้ตั้งศาลบูชาไว้ ณ ที่แห่งนี้<ref name=พ>หน้า 94-105, ''นัต พลังศรัทธาของมวลชน'' โดย ยศธร ไตรยศ. นิตยสารเนชั่นแนลจีโอกราฟฟิกฉบับภาษาไทย: ฉบับที่ 180 กรกฎาคม 2559</ref>
 
คนทรงนัต มีชื่อเรียกว่า "นัตกะด่อ" (နတ်ကတော်; ''nat kadaws'') นัตกะด่อจะนับถือนัตชเวปยินยีดอเป็นเสมือนนัตครู นัตกะด่อจากทั่วพม่าจะเดินทางมาที่นี่เพื่อบูชาปีละครั้ง ผู้ที่เป็นนัตกะด่อจะเป็นผู้ที่ชาวพม่าให้ความเคารพในทุกชนชั้น และความเชื่อจะถูกส่งต่อมาเป็นทอด ๆ หากพ่อแม่ศรัทธานัตกะด่อคนใด ลูกหลานก็จะถูกพามาด้วยและมอบตัวเป็นศิษย์
 
นัตกะด่อ ทำหน้าที่สื่อสารระหว่างนัตกับมนุษย์ ซึ่งนัตกะด่อแต่ละคนสามารถเข้าทรงนัตได้หลายตน ไม่จำกัดเฉพาะตนใดตนหนึ่ง แต่การที่จะเข้าทรงนัตตนใด ก็จะมีการแต่งกายที่แตกต่างกันออกไป แต่เดิมผู้ที่หน้าที่เป็นนัตกะด่อจะเป็นผู้หญิง และได้รับการนับถือว่าเป็นภรรยาของนัต และสืบทอดกันทางสายเลือดจากแม่สู่ลูก ในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 จึงได้มีนัตกะด่อที่เป็นผู้ชาย แต่ก็มีจำนวนน้อย ต่อมาในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1960 นัตกะด่อที่เป็น[[กะเทย|เพศที่สาม]]จึงปรากฏ และมีมากขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1980 ทั้งที่ในสังคมพม่าในยุคนั้นยังไม่ค่อยเปิดรับมากกับสภาพเพศที่สาม การที่บุคคลเพศที่สามได้เป็นนัตกะด่อเนื่องจากเชื่อว่าบุคคลที่มีเพศสภาพเช่นนี้ เหมาะสมที่สุดที่เป็นผู้ติดต่อกันระหว่างโลกมนุษย์กับโลกแห่งวิญญาณ ซึ่งในปัจจุบัน นัตกะด่อที่เป็นเพศที่สามได้รับความนิยมมากกว่านัตกะด่อที่เป็นชายจริง หญิงแท้ เสียอีก
 
ก่อนการเข้าทรง จะมีการจัดเลี้ยงอาหารต่อผู้มาร่วมงานและบูชาพระรัตนตรัย และบูชานัต โดยเครื่องบูชาหลัก คือ มะพร้าว เนื่องจากมินมหาคีรีนัต ซึ่งสิงสถิตย์อยู่ยังเขาโปปา ตายเพราะถูกไฟคลอกในรัชสมัย[[พระเจ้าจานสิตา]] น้ำมะพร้าวมีคุณสมบัติเย็นและช่วยดับร้อน อันจะทำให้นัตพึงพอใจ นอกจากนี้ยังมีกล้วย และธูปเทียนต่าง ๆ
 
ในหมู่บ้านต่องปะโยง งปะโยงจะมีปะรำพิธีสำหรับนัตกะด่อแต่ละคนที่จะมาเข้าทรง โดยจัดเวียนกันเป็นรอบ ๆ เมื่อถึงรอบของใคร ผู้นำก็จะนำพารำมายังปะรำพิธีซึ่งมีปี่พาทย์ประโคมรออยู่แล้ว ซึ่งบริเวณที่จัดงานจะเป็นงานนอกกำแพงวัด เนื่องจากเป็นการเข้าทรงนัตนอก ซึ่งมีถิ่นฐานนอกกำแพงวัดเจดีย์ชเวสิโกงชเวซีโกน
 
การเข้าทรงนัต นัตกะด่อจะฟ้อนรำไปตามจังหวะเสียงเพลง โดยมีสาวกหรือผู้ศรัทธาติดตามไป ช่วงที่สำคัญ คือ นัตกะด่อจะโปรยเงินแจกจ่ายสำหรับผู้ที่ยืนดู ซึ่งสามารถใช้ความมั่งคั่งของนัตกะด่อเป็นเครื่องวัดความมีชื่อเสียงของนัตกะด่อผู้นั้นได้ และก็มักมีการเข้าทรงเกิดขึ้นมากมายในบรรดาผู้ที่เข้าร่วมงานทั้งที่ไม่ใช่นัตกะด่อ
 
แม้ผ่านกาลเวลามานานกว่าสองพันปี และถูกท้าทายความเชื่อ ทั้งเคยมีความพยายามที่จะยกเลิกการบูชาและความเชื่อเรื่องผีนัต แต่ปัจจุบัน เชื่อว่ามีชาวพม่ากว่าร้อยละ 80 ที่ยังคงนับถือนัตอยู่ <ref name="นัต">{{cite web|url=http://program.thaipbs.or.th/documentaryprogram/article41834.ece?episodeID=575091|title= Spirit of Asia: ผีนัต|date=22 June 2013|accessdate=4 July 2014|publisher=ไทยพีบีเอส}}</ref>
 
== ความเชื่อเกี่ยวกับอิทธิฤทธิ์ของนัต ==
[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ทรงได้กล่าวเกี่ยวกับอิทธิฤทธิปาฏิหาริย์ของผีนัตฤทธิปาฏิหาริย์ของนัต ในช่วงรัชสมัยของ[[พระเจ้ามินดง]] เนื่องจากพระเจ้ามินดงได้มีพระดำริให้ทำการรื้อศาลผีนัตแห่งหนึ่งทำให้พระองค์ประชวร ดังมีข้อความดังนี้
[[ไฟล์:Nat-ein.jpg|thumb|รูปแบบของศาลผีนัต]]
[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ทรงได้กล่าวเกี่ยวกับอิทธิฤทธิปาฏิหาริย์ของผีนัต ในช่วงรัชสมัยของ[[พระเจ้ามินดง]] เนื่องจากพระเจ้ามินดงได้มีพระดำริให้ทำการรื้อศาลผีนัตแห่งหนึ่งทำให้พระองค์ประชวร ดังมีข้อความดังนี้
 
''"...ครั้งหนึ่งในรัชกาลพระเจ้ามินดง ผีแน็ตที่ศาลแห่งหนึ่งดุร้าย ทำให้เกิดอันตรายแก่ผู้คนจนร้อนถึงพระเจ้ามินดง จึงโปรดให้ทำพิธีส่งวิญญาณด้วยประการอย่างใดอย่างหนึ่ง ด้วยตรัสว่าผีแน็ตไปปฏิสนธิแล้ว ให้รื้อศาลเสียเถิดคนจะได้หายครั่นคร้าม''
เส้น 136 ⟶ 135:
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://www.junjaowka.com/webboard/showthread.php?t=25460 ผีนัต...ผู้พิทักษ์แห่งลุ่มแม่น้ำอิระวดี ]
* [http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/K3756904/K3756904.html ประวัติศาสตร์พม่าโดยสังเขป จากเว็บไซต์[[พันทิป]]]
 
[[หมวดหมู่:ศาสนาในประเทศพม่า|ศาสนาในประเทศพม่า]]
 
[[หมวดหมู่:ผี]]