ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
|ประสูติ = [[พ.ศ. 2423]]<ref name=com>[http://www.compasscm.com/issue/Feb10/module_back.asp?content=Feb10/scoop&lang=TH เจ้าน้อยศุขเกษม กับนางมะเมียะ]</ref>
|วันพิราลัย= [[20 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2456]] (33 ปี)
|พระอิสริยยศ = รัชทายาทนครเชียงใหม่
|ฐานันดรศักดิ์ = [[เจ้านายฝ่ายเหนือ#ฐานันดรศักดิ์|เจ้าอุตรการโกศล]]
|พระราชบิดา = [[เจ้าแก้วนวรัฐ]]
บรรทัด 25:
'''ร้อยตรี เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)''' หรือ '''เจ้าน้อยศุขเกษม''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-Chao_Uttarakankoson.png|250px]]}}) ([[พ.ศ. 2420]]-[[พ.ศ. 2453]]) ราชโอรสองค์ใหญ่ใน [[พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ]] สมรสกับ [[เจ้าบัวชุม ณ เชียงใหม่]] พระญาติในราชวงศ์ทิพย์จักร ดำรงฐานันดรศักดิ์เป็น '''"เจ้าอุตรการโกศล"''' ถือศักดินา 1,600
 
เจ้าน้อยศุขเกษม ถูกกล่าวถึงในบทเพลง มะเมี้ยะ ของ [[จรัล มโนเพ็ชร]] ซึ่งกล่าวถึงตำนานรักต้องห้ามระหว่าง เจ้าชายเมืองเหนือ กับ [[มะเมียะ]] สาวชาวพม่า แห่ง [[มะละแหม่ง|เมืองมะละแหม่ง]] ที่จบลงด้วยความเศร้า เพราะราชประเพณีความรักจึงไม่อาจสมหวังได้
 
== ประวัติ ==
เจ้าน้อยศุขเกษม ประสูติเมื่อปี [[พ.ศ. 2423]] เป็นราชโอรสองค์โตในเจ้าแก้วนวรัฐ วรัฐกับแม่เจ้าจามรีมหาเทวี มีน้องสาว และน้องชายร่วมพระมารดา คือ [[เจ้าบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่|เจ้าบัวทิพย์]] และ[[เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)|เจ้าวงศ์ตวัน]] ในปี เชียงใหม่พ.ศ. 2441 ในวัย 15 ปีก็ถูกส่งตัวไปศึกษายังโรงเรียนเซนต์แพทริคในเมืองมะละแหม่งของพม่า<ref name = "Silpa"/> และได้พบรักกับ[[มะเมียะ]]แม่ค้าสาวชาวพม่าในปี พ.ศ. 2445 จนกระทั่งได้ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันฉันสามีภรรยา ด้วยความสนับสนุนของทางบ้านของมะเมียะ
 
หลังจากเรื่องเจ้าศุขเกษมไปคบหากับสาวพม่าได้ยินมาถึงคุ้มเชียงใหม่ เจ้าศุขเกษมก็ถูกเรียกกลับเชียงใหม่ในปีพ.ศ. 2446 โดยมะเมียะปลอมตัวเป็นผู้ชายติดตามขบวนมาและให้คนสนิทปิดเรื่องนี้เป็นความลับ<ref>วรชาติ มีชูบท, ''เจ้านายฝ่ายเหนือ และตำนานรักมะเมีย'', กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊ค, 2556</ref> หลังจากเรื่องแดง มะเมี๊ยะซึ่งเป็นคนพม่าและมีฐานะยากจน ก็ถูกคุ้มเชียงใหม่บีบบังคับให้แยกทางจากเจ้าศุขเกษมอย่างเด็ดขาด<ref name = "Silpa"/> โดยเจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่ เคยให้สัมภาษณ์ต่อตำนานดังกล่าวว่า:
เมื่ออายุได้ 15 ปี ได้ไปศึกษาวิชาความรู้ที่โรงเรียนเซนต์แพทริค ในเมืองมะละแหม่ง [[ประเทศพม่า]] และได้พบรักกับ[[มะเมียะ]] แม่ค้าสาวชาวพม่า ในปี พ.ศ. 2445 จนกระทั่งได้ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันฉันสามีภรรยา ด้วยความสนับสนุนของทางบ้านของมะเมียะ
{{คำพูด|''ได้ข่าวจากเชียงตุงว่า…ไปเฮียนหนังสือมันก็บ่เฮียน ไปเมาสาวเหีย ถ้ามีลูกมีเต้าจะเยี๊ยะจะได เพราะว่าเขาต้องมาสืบความเป็นเจ้าหลวงต่อนะ มันบ่เฮียนหนังสือ เอามันกลับมาเหีย ก็เลยเอากลับมา มาก็มากันสองคน คนหนึ่งปลอมเป็นผู้ชายมาคือมะเมี๊ยะ มาแล้วก็บอกว่ามันอยู่กันบ่ได้เลย ก็เลยบอกว่าให้เอาอีมะเมี๊ยะไปส่งเหีย''<ref name = "Silpa">[https://www.silpa-mag.com/club/art-and-culture/article_4981 มะเมี๊ยะ : เรื่องเก่าที่ต้องมองใหม่] สมฤทธิ์ ลือชัย. ''ศิลปวัฒนธรรม'' ฉบับ 2555. 20 ธันวาคม 2559</ref>|เจ้าดวงเดือน ณ เชียงใหม่}}
 
มีผู้พยายามเสนอว่า การที่เจ้าศุขเกษมและมะเมียะต้องแยกทางกัน เพราะมะเมียะเป็นคนในบังคับอังกฤษเกรงจะเป็นปัญหาทางการเมืองระหว่างประเทศนั้น นักวิชาการได้ศึกษาค้นคว้าแล้วสรุปว่าไม่มีมูล<ref name = "Silpa"/> ดังที่ [[เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่]] สมรสกับ[[เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่|เจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง]] ก็ไม่เป็นปัญหาทางการเมืองแต่อย่างใด
เมื่อครั้นถึงกำหนดการเดินทางกลับ[[นครเชียงใหม่]] ในปี พ.ศ. 2446 เจ้าน้อยจึงให้มะเมียะปลอมตัวเป็นผู้ชายติดตามขบวนเพื่อกลับไปยังเชียงใหม่ ในฐานะสหายหนุ่มชาวพม่า แต่ในอีกทางหนึ่งเจ้าแก้วนวรัฐ ได้หมั้นหมายเจ้าหญิงบัวนวล ธิดาของ[[เจ้าสุริยวงศ์ (คำตัน สิโรรส)]] ไว้ก่อนนั้นแล้ว เจ้าน้อย จึงต้องให้มะเมียะหลบซ่อนตัวอยู่ในคุ้มเป็นระยะเวลานาน ด้วยความกังวลใจว่าหากตนได้ขึ้นครองราชย์เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่แล้ว จะเกิดอึดอัดใจแก่ประชาชนที่จะต้องมีแม่เมืองเป็นสตรีชาวต่างชาติ ประกอบกับสถานการณบ้านเมืองขณะนั้นน่าวิตกมาก เนื่องจากมหาอำนาจอังกฤษกำลังแผ่อิทธิพลไปทั่วดินแดนในคาบสมุทร[[เอเซียตะวันออกเฉียงใต้]] หากมีบุคคลอื่นรู้ว่ามีสาวชาวพม่าหลบซ่อนตัวอยู่ในคุ้มเจ้าราชวงศ์ (ขณะนั้นเจ้าแก้วนวรัฐ ดำรงอิสริยยศเป็น เจ้าราชวงศ์) อาจจะเป็นชนวนให้เกิดปัญหาทางการเมืองได้ จากนั้นนางมะเมียะ จึงถูกส่งตัวกลับไปยังประเทศพม่า ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2446<ref>วรชาติ มีชูบท, ''เจ้านายฝ่ายเหนือ และตำนานรักมะเมีย'', กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊ค, 2556</ref>
 
จากนั้นเจ้าน้อยศุขเกษม ศุขเกษมได้เข้าพิธีสมรสกับ[[เจ้าบัวชุม ณ เชียงใหม่]] และเจ้าศุขเกษมมีอุปนิสัยไม่เอาการเอางาน ชอบแต่สุรา ด้วยเหตุฉะนี้จึงได้รับแต่งตั้งเป็นเพียง "เจ้าอุตรการโกศล" ซึ่งไม่มีสิทธิขึ้นครองนครต่อเนื่องจากไม่ใช่ตำแหน่งเจ้าขันห้าใบ เจ้าศุขเกษมถึงแก่กรรมด้วยโรคเส้นประสาทพิการเรื้อรัง เมื่อวันที่ [[20 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2456]]<ref name=com/> โดยมีพิธีปลงพระศพ ในวันที่ [[31 สิงหาคม]]ของปีเดียวกัน
 
== ลำดับสาแหรก ==