ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเขมร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ijiryu2001 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่ม อิทธิพลของภาษาไทยในภาษาเขมร
บรรทัด 102:
 
== อักษรเขียน ==
ภาษาเขมรเขียนด้วย[[อักษรเขมร]] และ[[เลขเขมร]] (มีลักษณะคล้ายเหมือนเลขไทย) ใช้กันทั่วไปมากกว่า[[เลขอารบิก]] ชาวเขมรได้รับตัวอักษรและตัวเลขจากอินเดียฝ่ายใต้ อักษรเขมรนั้นมีด้วยกัน 2แบบ
 
*== '''อักษรเชรียง''' (อักซอเจรียง) หรืออักษรเอน หรืออักษรเฉียง เป็นตัวอักษรที่นิยมใช้ทั่วไป เดิมนั้นนิยมเขียนเป็นเส้นเอียง แต่ภายหลังเมื่อมีระบบการพิมพ์ ได้ประดิษฐ์อักษณแบบเส้นตรงขึ้น และมีชื่ออีกอย่างว่า อักษรยืน (อักซอโฌ) อักษรเอนนี้เป็นตัวยาว มีเหลี่ยม เขียนง่าย ถือได้ว่าเป็นอักษรแบบหวัด ==
* '''อักษรมูล''' หรืออักษรกลม เป็นอักษรที่ใช้เขียนบรรจง ตัวกว้างกว่าอักษรเชรียง นิยมใช้เขียนหนังสือธรรม เช่น คัมภีร์ในพระ[[พุทธศาสนา]] หรือการเขียนหัวข้อ ที่ต้องการความโดดเด่น หรือการจารึกในที่สาธารณะ
* '''Romanization''' เขียนภาษาเขมรด้วยอักษรโรมัน
บรรทัด 119:
* ในชื่อบุคคล เช่น สมพร, สมาน ฯลฯ
* ในชื่อสถานที่ เช่น [[ฉะเชิงเทรา]], [[อำนาจเจริญ]], [[เกาะเกร็ด]], [[อำเภอสตึก|สตึก]] ฯลฯ
 
== อิทธิพลของภาษาไทยในภาษาเขมร<ref>https://khmerspelling.wordpress.com/tag/%E1%9E%95%E1%9F%92%E1%9E%89%E1%9E%BE%E2%80%8B%E1%9E%87%E1%9E%BE%E1%9E%84/</ref> ==
 
=== คำยืมภาษาไทย ===
ในภาษาเขมรนั้นมีการยืมคำภาษาไทยมาใช้เป็นจำนวนมาก โดยติดมากับการค้าขาย โดยคำที่ยืมมาจะมีหลักสังเกตได้ง่าย เช่น ในภาษาเขมรแท้ๆ จะไม่มีหน่วยเสียง /f/ (เสียง ฝ ฟ) พยัญชนะเขมรจึงไม่มีการประดิษฐ์อักษรที่แทนหน่วยเสียงนี้โดยชัดเจน แต่จะใช้ตัว ហ ซ้อนกับเชิงของ វ เป็น ហ្វ แทนเสียง /f/ ที่เป็นคำยืมในภาษาต่างๆ โดยเฉพาะภาษาไทย
 
=== คำยืมภาษาไทยที่เป็นการนับเลข ===
เลขเขมร ตั้งแต่เลข 30 40 50 60 70 80 90 จะเรียกว่า ซามเซ็บ แซ็ยเซ็บ ฮาเซ็บ ฮกเซ็บ เจ็ดเซ็บ แปดเซ็บ เกาเซ็บ ตามลำดับ สังเกตได้ว่าเป็นคำยืมการนับเลขจากภาษาไทย และสังเกตว่านับมาได้ช้านานแล้ว
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==