ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
 
== งาน ==
หลังพ.ศ. ๒๕๐๕ สำเร็จการศึกษาปริญญาพุทธศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๑) จากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และสอบชุดได้ วิชาชุดครู พ.ม. ได้ในปี ก็ได้รับพ.ศ. ๒๕๐๖ หลังจากสำเร็จการแต่งตั้งเป็นรองเลขาธิการศึกษาเป็นอาจารย์ในมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นผู้ช่วยเลขาธิการและดำรงตำแหน่งติดต่อกันต่อมาเป็นรองเลขาธิการ จนถึง 10พ.ศ. ปี๒๕๑๗ มีบทบาททางด้านการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาของคณะสงฆ์ โดยพยายามเชื่อมโยงความรู้ทางธรรมให้เข้ากับปัญหาสังคมร่วมสมัย ในทางด้านการบริหารและเคยดำรงตำแหน่งรองเจ้าอาวาสวัดพระพิเรนทร์ ช่วงปีกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ พ.ศ. 2516๒๕๑๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๑๙ และลาออกจากตำแหน่งบริหารหลังจากนั้นในสามปีต่อมาได้ลาออก โดยและได้ทุ่มเทเวลาและกำลังกายให้กับงานด้านวิชาการ ตีพิมพ์ผลงานเป็นหนังสือและบทความออกมาอย่างแพร่หลาย ทั้งร่วมเสวนาและสัมมนาทางวิชาการ กับนักวิชาการและปัญญาชนร่วมสมัยอย่างสม่ำเสมอ [[พุทธธรรม (หนังสือ)|หนังสือพุทธธรรม]] ได้รับการยกย่องว่าเป็นเพชรน้ำเอกของวงการพุทธศาสนา ได้รับดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ 10 กว่าแห่ง และได้รับรางวัล "การศึกษาเพื่อสันติภาพ" จาก[[ยูเนสโก]] เมื่อปี พ.ศ. 2537 ซึ่งท่านได้มอบเงินรางวัลทั้งหมดให้แก่[[กระทรวงศึกษาธิการ]] เพื่อจัดตั้งกองทุนการศึกษาพระธรรมปิฎกเพื่อสันติภาพ พระ ป.อ. ปยุตโต ได้รับเลื่อนสมณศักดิ์ขึ้นตามลำดับ เป็นพระราชวรมุนี พระเทพเวที พระธรรมปิฎก พระพรหมคุณาภรณ์ และสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นสมณศักดิ์ที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน
 
ปัจจุบันสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์เป็นจ้าอาวาสวัดญาณเวศกวัน ตำบลบางกระทึก [[อำเภอสามพราน]] [[จังหวัดนครปฐม]] และดูแลสำนักสงฆ์สายใจธรรม บนเทือกเขาสำโรงดงยาง ตำบลหนองแหน [[อำเภอพนมสารคาม]] [[จังหวัดฉะเชิงเทรา]]