ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวไท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
O2-M95 ไม่ได้มีแค่ในชาวไท https://en.wikipedia.org/wiki/Haplogroup_O-K18
Nsdarkstar (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6750922 สร้างโดย 171.5.244.86 (พูดคุย)
บรรทัด 28:
ในรายงานตีพิมพ์เมื่อปี 2004 นักภาษาศาสตร์ Laurent Sagart ตั้งสมมติฐานว่าภาษาไท-กะไดเริ่มแรกกำเนิดจากภาษาออสโตนีเซียน ซึ่งผู้อพยพนำติดตัวจากไต้หวันไปถึงจีนแผ่นดินใหญ่ หลังจากนั้นภาษานี้ก็ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากภาษาพื้นเมืองต่างๆตั้งแต่ซิโน-ทิเบตัน, ม้ง-เมี่ยน จนถึงตระกูลภาษาอื่นๆ โดยรับคำศัพท์เข้ามาจำนวนมากและค่อยๆกลายโครงสร้างภาษามาคล้ายกัน ปัจจุบันเมื่อไม่นานมานี้กลุ่มคนบางกลุ่มที่พูดภาษาไทได้อพยพไปทางทิศใต้ผ่านเทือกเขาต่างๆเข้าสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อาจจะทันทีโดยการมาถึงของชาวจีนฮั่นไปจีนตอนใต้
 
มรดกทางภาษาไม่ได้เชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับมรดกทางพันธุกรรมเนื่องจากการเปลี่ยนภาษาเมื่อประชากรต่างๆเรียนรู้ภาษาใหม่ๆ ชาวไทมีแนวโน้มที่จะมีอัตราการปรากฏของ Y-DNA Haplogroup O2a สูงมากและอัตราการปรากฏของ O2a1 และ O1 ปานกลาง อย่างไรก็ตามเชื่อกันว่า Y-DNA haplogroup O1 มีความสัมพันธ์กับทั้งผู้ที่พูดภาษาออสโตนีเซียนและผู้ที่พูดภาษาไท ,ความแพร่หลายของ Y-DNA haplogroup O1 ในหมู่ผู้ที่พูดภาษาออสโตนีเซียนและผู้ที่พูดภาษาไทยังบ่งบอกถึงบรรพบุรุษร่วมกันกับผู้ที่พูดภาษาซิโน-ทิเบตัน, ออสโต-เอชียติก และม้ง-เมี่ยนเมื่อประมาณ 35,000 ปีก่อนในจีน ,Y-DNA haplogroup O2a ถูกพบด้วยอัตราการปรากฏสูงในหมู่คนไทส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่คนไทมีร่วมกับกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยใกล้เคียงนั่นคือผู้ที่พูดภาษาออสโต-เอเชียติกในมณฑลยูนนานของจีนตอนใต้, Y-DNA haplogroups O1 และ O2a เป็นกลุ่มย่อยของ O ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของ K อีกทีซึ่งเป็นการกลายพันธุ์ซึ่งเชื่อกันว่าได้เกิดขึ้นเมื่อ 40,000 ปีก่อน ณ ที่ใดที่หนึ่งระหว่างอิหร่านกับจีนตอนกลาง
 
อย่างไรก็ตามจากการตรวจสอบโครโมโซมแล้วลักษณะร่วมของกลุ่มผู้พูดภาษาตระกูลไท-ไตคือY-DNA haplogroup O1aทำให้โอกาศที่คนไทจะมาจากจีนตอนใต้ในขณะนี้น่าจะมีน้ำหนักมากที่สุด<ref>Autosomal STRs provide genetic evidence for the hypothesis that Tai people originate from southern China.</ref>
[[File:Frequencies of Y-DNA haplogroup O2-M95.png|thumb|Projected spatial frequency distribution for haplogroup O2-M95 .<ref>O'Rourke, Dennis; Cai, Xiaoyun; Qin, Zhendong; Wen, Bo; Xu, Shuhua; Wang, Yi; Lu, Yan; Wei, Lanhai; Wang, Chuanchao; Li, Shilin; Huang, Xingqiu; Jin, Li; Li, Hui (2011). "Human Migration through Bottlenecks from Southeast Asia into East Asia during Last Glacial Maximum Revealed by Y Chromosomes". PLoS ONE. 6 (8): e24282. doi:10.1371/journal.pone.0024282. ISSN 1932-6203.</ref>
แผนภาพแสดงอัตตราส่วนความถี่ทางภูมิศาสตร์ของ Y-DNA Haplogroup O2a (อนึ่งhaplogroup o2a นั้นมีการกระจายตัวออยู่ตั้งแต่บริเวณจีนตอนใต้,เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปจนถึงอินเดียตะวันออกและจะพบมากในหมู่ผู้ที่พูดภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก ตัวอย่างเช่น ชนพื้นเมืองหมู่เกาะนิโคบาร์พบในอัตตราส่วน100%<ref>Kumar et al(2007)Y-chromosome evidence suggests a common paternal heritage of Austro-Asiatic populations;BMC Evolutionary Biology 2007, 7:47 doi:10.1186/1471-2148-7-47</ref> ชาวบาหลีพบในอัตตราส่วน58.6%<ref>Karafet, Tatiana M.; Lansing, J. S.; Redd, Alan J.; Watkins, Joseph C.; Surata, S. P. K.; Arthawiguna, W. A.; Mayer, Laura; Bamshad, Michael et al. (2005). "Balinese Y-Chromosome Perspective on the Peopling of Indonesia: Genetic Contributions from Pre-Neolithic Hunter-Gatherers, Austronesian Farmers, and Indian Traders". Human Biology 77 (1): 93–114. doi:10.1353/hub.2005.0030. PMID 16114819.</ref> ชาวมุนดาในอินเดียตะวันออกพบบในอัตราส่วน53.1%<ref>Sengupta et al(2006);Polarity and temporality of high-resotution Y-chromosome distributions in India indentify both indegenous and exgenous expansions and reveal minor genetic influence of Central Asian pastoralists.Am.J.Hum.Genet.78:202-221</ref>(บางแห่งว่า57.2%<ref>Kumar, Vikrant; Reddy, Arimanda NS; Babu, Jagedeesh P; Rao, Tipirisetti N; Langstieh, Banrida T; Thangaraj, Kumarasamy; Reddy, Alla G; Singh, Lalji; Reddy, Battini M (2007). "Y-chromosome evidence suggests a common paternal heritage of Austro-Asiatic populations". BMC Evolutionary Biology 7: 47. doi:10.1186/1471-2148-7-47. PMC 1851701. PMID 17389048.</ref>) ชาวกาสีในรัฐเมฆาลัยประเทศอินเดียพบในอัตราส่วน41.3%<ref>Kumar et al(2007)Y-chromosome evidence suggests a common paternal heritage of Austro-Asiatic populations;BMC Evolutionary Biology 2007, 7:47 doi:10.1186/1471-2148-7-47</ref> ชาวฮั่นตอนใต้ในจีนพบในอัตตราส่วน30%<ref> Hammer MF, Karafet TM, Park H et al. (2006). "Dual origins of the Japanese: common ground for hunter-gatherer and farmer Y chromosomes". J. Hum. Genet. 51 (1): 47–58. doi:10.1007/s10038-005-0322-0. PMID 16328082.</ref> เป็นต้น . ]]
 
== การแบ่งประเภท ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ชาวไท"