ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูกาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chalita121675 (คุย | ส่วนร่วม)
Chalita121675 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 59:
[[ไฟล์:Seasonearth.png|thumb|right|275px|ภาพแสดงให้เห็นโลกในฤดูต่างๆ]]
[[ไฟล์:seasons.svg|frame|right|'''Fig. 1'''<br />This is a diagram of the seasons. Regardless of the time of day (i.e. the [[Earth]]'s rotation on its axis), the [[North Pole]] will be dark, and the [[South Pole]] will be illuminated; see also [[arctic winter]]. In addition to the density of [[Angle of incidence|incident]] light, the [[dissipation]] of light in the [[Earth's atmosphere|atmosphere]] is greater when it falls at a shallow angle.]]
 
ฤดูกาลเกิดขึ้นจากการที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ เนื่องจากแกนโลกเอียงเป็นมุม 23.5 องศา จึงทำให้ในแต่ละช่วงของปี แต่ละบริเวณจะได้รับแสงแดดไม่เท่ากัน ทำให้มีอุณหภูมิต่างกัน จึงเกิดเป็นฤดูกาลต่าง ๆ ขึ้น
วันที่ 21 มีนาคม ตำแหน่งแสงตั้งฉากของดวงอาทิตย์อยู่ที่เส้นศูนย์สูตรจุดขั้วโลกเหนือกับขั้วโลกใต้จะสว่าง เรียกวา วันวสันตวิษุวัต (vernal equinox) โลกจะมีกลางวันและกลางคืนเท่ากัน ช่วงละ 12 ชั่วโมง
วันที่ 21 มิถุนายน ตำแหน่งตั้งฉากของดวงอาทิตย์จะอยู่เหนือสุดเส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ ทำให้พื้นที่ตั้งแต่เส้นศูนย์สูตไปทางขั้วโลกเหนือ เรียกว่า ซีกโลกเหนือ จะมีเวลาที่เป็นกลางวันหรือสว่างมากกว่า 12 ชั่วโมง ส่วนพื้นที่ที่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตรลงไป เป็นซีกโลกใต้ จะมีเวลากลางวันสั้นกว่ากลางคืน ซึ่งตรงกันข้ามกับปรากฏการณ์ในซีกโลกเหนือ วันที่ 21 มิถุนายน คือ วันอุตรายันหรือครีษมายัน (summer solstice)ตำแหน่งตั้งฉากของดวงอาทิตย์ที่เคลื่อนขึ้นมาอยู่ ณ เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์นั้น ทำให้ทุกพื้นที่ที่อยู่เหนือเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล มีช่วงการรับแสงจากดวงอาทิตย์ยาวนานที่สุดถึง 24 ชั่วโมง (ที่ซีกโลกใต้พื้นที่ตั้งแต่เส้นแอนตาร์กติดเซอร์เคิลไปถึงขั้วโลกใต้จะมืด 24 ชั่วโมง ) ดินแดนที่อยู่เหนือเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล ได้แก่ ประเทศนอร์เวย์ ฟินแลนด์ สวีเดน ตอนเหนือของสหพันธรัฐรัสเซียและตอนเหนือของเกาะกรีนแลนด์ เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า"พระอาทิตย์เที่ยงคืน หรือดวงอาทิตย์ไม่ลับขอบฟ้า" (Midnight Sun)
วันที่ 22 กันยายน คือ "วันศารทวิษุวัต" (autumnal equinox) ตำแหน่งตั้งฉากของดวงอาทิตย์ย้ายลงมาจากวันที่ 21 มิถุนายน วันละ 15 ลิปดาและมาตั้งฉากที่เส้นศูนย์สูตรอีกครั้งหนึ่ง ทำให้ปรากฏการณ์ของซีกโลกเหนือที่เคยได้รับแสงอาทิตย์ยาวนานค่อยๆลดลง และจะมีช่วงเวลาระหว่างกลางวันกับกลางคืนเท่ากันอีกครั้งในวันนี้ นับจาดนี้ต่อไปตำแหน่งตั้งฉากของดวงอาทิตย์จะเลื่อนลงใต้เส้นศูนย์สูตร ทำให้ดินแดนทางซีกโลกใต้เริ่มมีช่วงเวลากลางวันยาวขึ้นและเวลากลางคืนสั้นลง
วันที่ 21 ธันวาคม คือ " วันทักษิณายันหรือเหมายัน " (Winter solstice) ตำแหน่งตั้งฉากของดวงอาทิตย์ลงไปใต้สุดที่เส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์น ทำให้พื่นที่ซีกโลกใต้มีเวลากลางวันยาวทีสุดและที่ทวีปแอนตาร์กติกาจะได้เห็นปรากฏการณ์ "ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน" เช่นกันสำหรับซีกโลกเหนือในระยะนี้จะได้รับแสงอาทิตย์สั้นทีสุด จึงเป็นช่วงฤดูหนาว ส่วนซีกโลกใต้เป็นฤดูร้อน ถัดจากวันที่ 21 ธันวาคมไป ตำแหน่งตั้งฉากของดวงอาทิตย์จะขยับขึ้นไปที่เส้นศูนย์สูตรและครบ 1 รอบในวันที่ 21 มีนาคม
 
ฤดูกาลเกิดขึ้นเนื่องจากการเอียงของ[[แกนโลก]]ที่เอียงทำมุมประมาณ 23.5 [[องศา]]กับระนาบการหมุนของโลก ส่งผลให้ระยะเวลาในช่วงกลางวันและกลางคืน รวมถึงการดูดซับพลังงานจาก[[ดวงอาทิตย์]]แตกต่างกันไปในแต่ละช่วงของปี นั่นคือในช่วงที่[[ซีกโลกเหนือ]]หันเข้าหาดวงอาทิตย์ซึ่งถือว่าเป็นช่วงฤดูร้อนของซีกโลกเหนือเนื่องจากได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์มากที่สุดและมีกลางวันที่ยาวนานที่สุด ทาง[[ซีกโลกใต้]]จะห่างจากดวงอาทิตย์มากที่สุด นั่นคือเป็นฤดูหนาวของซีกโลกใต้ซึ่งมีกลางวันที่สั้นที่สุด
เส้น 65 ⟶ 71:
3. ระยะใกล้ไกลทะเล จะทำให้อากาศมีความแตกต่างกันระหว่างฤดูร้อนและฤดูหนาวมาก เนื่องจากไม่มีพื้นที่ติดต่อกับทะเล
4. การวางตัวของภูเขาดงพญาเย็นและสันกำแพง ซึ่งวางตัวในแนวเหนือ-ใต้กั้นลมฝนจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
 
 
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฤดูกาล"