ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ Donut.3.59 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 122.155.45.233
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
| short_describtion = พระอุโบสถ
| type_of_place = พระอารามหลวงชั้นตรี
| branch = [[เถรวาท]] ([[ธรรมยุตินิกายธรรมยุติกนิกาย]])
| special_things = วัดที่สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2540/D/095/10.PDF ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ตั้งวัดในพระพุทธศาสนา (วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก)], เล่ม ๑๑๔, ๙๕ ง , ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้า ๑๐</ref>, วัดประจำรัชกาล [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
| principal_buddha = พระพุทธกาญจนธรรมสถิต
บรรทัด 33:
| mapia_url =
| mapia_name =
| website = [http://www.rama9templewatphraram9.org www.rama9temple.org]/
| footnote =
}}
'''วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก''' เป็นวัด[[ธรรมยุติกนิกาย]] ที่สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]มีพระราชดำริให้สร้างขึ้นในปี [[พ.ศ. 2538]] ตั้งอยู่เลขที่ 999 ซอยพระราม 9 ซอย 19 [[ถนนพระราม 9]] [[แขวงห้วยขวาง]] [[เขตห้วยขวาง]] [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นวัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคมสีมา<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/D/057/87.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานวิสุงคามสีมา (วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก)], เล่ม ๑๑๕, ๕๗ ง , ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๑, หน้า ๘๗</ref>และได้รับการยกขึ้นเป็นพระอารามหลวงชั้นตรีเป็นการพิเศษในปี พ.ศ. 2542<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2543/D/021/7.PDF ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ยกวัดราษฎร์เป็นพระอารามหลวง (วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก)],เล่ม ๑๑๗, ๒๑ ง , ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๓, หน้า ๗</ref>ปัจจุบันมี พระธรรมบัณฑิต (อภิพล อภิพโล) เป็นเจ้าอาวาส<ref>วัดพระราช ๙ กาญจนาภิเษก. (2551). '''ประวัติวัดพระราช ๙ กาญจนาภิเษก'''. [ออน-ไลน์]. แหล่งข้อมูล : http://www.rama9temple.org/index.php?topgroupid=1&groupid=5</ref>
 
== ก่อนจะมาเป็นวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ==
{{โครงส่วน}}
 
 
สืบเนื่องจากสภาพสังคมไทยในปัจจุบันปัญหาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม นับเป็นปัญหาใหญ่ที่ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ซึ่งชุมชนบึงพระราม ๙ ก็เป็นสถานที่อีกแห่งหนึ่ง ที่ปราบปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เนื่องจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น อันก่อให้เกิดปัญหาน้ำเน่าเสีย ส่งผลให้เกิดการทำลายสภาพแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน กอรปกับแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเป็นแหล่งปลายทางรับน้ำเสียจากทุกหนแห่ง ได้เริ่มเสื่อมโทรมลงทุกขณะ หากไม่เร่งแก้ไขปัญหาต่างๆ ก็จะตามมาอย่างไม่หยุดยั้ง
 
เส้น 59 ⟶ 57:
== ศูนย์รวมแห่งจิตใจ กับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม ==
{{โครงส่วน}}
 
 
เมื่อการดำเนินการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสีย ตามโครงการบึงพระราม ๙ ดำเนินการไปได้ระดับหนึ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงได้พระราชทานพระราชดำริเพิ่มเติม เมื่อวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๓๑ ให้มีการดำเนินการปรับปรุงสภาพพื้นที่ และชุมชนในพื้นที่บริเวณใกล้เคียงกับโครงการบึงพระราม ๙ ดังกล่าว พร้อมกันนั้นก็ให้มีการจัดตั้งวัดขึ้นในที่ดินที่อยู่ใกล้เคียงกัน ซึ่งนางสาวจวงจันทร์ สิงหเสนี ได้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินจำนวน ๘ – ๒ – ๕๔ ไร่ และได้รับการอนุญาตให้สร้างวัดจากกรมการศาสนา เมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๓๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานนามวัดแห่งนี้ว่า “ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก ” โดยมีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เป็นองค์อุปถัมภ์ฝ่ายสงฆ์ และสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเป็นองค์อุปถัมภ์ฝ่ายฆราวาส ในการนี้ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินงานก่อสร้างวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษกขึ้น โดยมีนายจริย์ ตุลยานนท์ กรรมการมูลนิธิชัยพัฒนา เป็นประธานคณะอนุกรรมการดำเนินการก่อสร้างวัด ทำหน้าที่ในรับผิดชอบในการดำเนินการก่อสร้างวัดให้เป็นไปตามพระราชประสงค์ ในลักษณะวัดขนาดเล็กที่มีลักษณะเรียบง่าย ประหยัด และทันสมัย เป็นศูนย์รวมแห่งจิตใจ และศรัทธา เป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้ ทั้งทางศาสนา สังคม และจริยธรรม แก่เยาวชน และประชาชนในชุมชน เพื่อขัดเกลาจิตใจของชุมชนให้มีจิตสำนึกต่อสังคมโดยส่วนรวมอันจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติต่อไป
 
เส้น 124 ⟶ 120:
* [http://www.rama9temple.org/ เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของวัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก]
 
[[หมวดหมู่:วัดในเขตห้วยขวาง|วัดในเขตกรุงเทพมหานคร{{เรียงลำดับ|พระราม ๙ กาญจนาภิเษก]]}}
[[หมวดหมู่:วัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย|พระราม ๙ กาญจนาภิเษกเขตห้วยขวาง]]
[[หมวดหมู่:วัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย]]
{{โครงวัดไทย}}