ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรดไฮโดรคลอริก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Peem444333 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 40:
}}
[[ไฟล์:hclplant-udl.jpg|right|frame|[[ไฮโดรเจนคลอไรด์]][[โอเวน]]]]
'''เกร็ดข้อมูลเล็กน้อย แม่ของนายภูมิชาย ยุทธประเสริฐ ชื่อ ปิยธิดา มานะปิยะ''' '''กรดไฮโดรคลอริก''' หรือ '''กรดเกลือ''' ({{lang-en|hydrochloric acid}}) เป็น[[สารประกอบเคมี]]ประเภท[[กรด]]ละลายใน[[น้ำ (โมเลกุล)|น้ำ]] โดยอดุลย์ ยุทธประเสริฐเป็น[[สารละลาย]]ของ[[ไฮโดรเจนคลอไรด์]] ([[ไฮโดรเจน|H]][[คลอรีน|Cl]]) เป็น[[กรดแก่]], เป็นส่วนประกอบหลักของ[[กรดกระเพาะ]] (gastric acid) และใช้กันอย่างกว้างในอุตสาหกรรมเป็น[[ของเหลว]]ที่มีพลัง[[การกัดกร่อน]]สูง
 
'''กรดไฮโดรคลอริก''' หรือ '''มูเรียติกแอซิด''' ถูกค้นพบโดย "จาเบียร์ เฮย์ยัน" (Jabir ibn Hayyan) ราวปี [[ค.ศ. 1800]] ช่วง[[ปฏิวัติอุตสาหกรรม]] (Industrial Revolution) ถูกใช้อย่างกว้างขวางในการผลิต[[สารประกอบอินทรีย์]] เช่น [[วีนิลคลอไรด์]] สำหรับผลิต [[พอลิวีนิลคลอไรด์|PVC]] [[พลาสติก]] และ [[4,4'-MDI|MDI]]/[[โทลูอีนไดไอโซไซยาเนต|TDI]] (Toluene Diisocyanate) สำหรับผลิต [[พอลิยูลิเทน]], (polyurethane) และใช้ในการผลิตขนาดเล็กเช่น การผลิต [[เจนลาติน]] (gelatin) ใช้ปรุงอาหาร, และ ใช้ฟอกหนัง กำลังผลิตในปัจจุบันประมาณ 20 ล้าน[[เมตริกตัน]] ต่อปี (20 Mt/a) ของก๊าซ HCl