ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรดาศักดิ์ไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ใน[[ฐานันดรศักดิ์ไทย]] '''บรรดาศักดิ์''' คือ ระดับชั้นหรือยศของข้าราชการไทยในสมัยโบราณ เทียบกับคำภาษาอังกฤษคือ Title
 
* ''สำหรับบรรดาศักดิ์ของพระบรมวงศานุวงศ์ไทยซึ่งทรงทำงานในกรม ดูได้ที่ [[เจ้าต่างกรม]]''
* ''สำหรับจำนวนศักดินาของคนสยาม ดูได้ที่ [[พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นายทหารหัวเมือง]]''
 
[[ไฟล์:เจ้าพระยาพลเทพ.jpg|thumb|300250px|right| ([[เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร)]]) เสนาบดีในรัชกาลที่ 5 ]]
ระบบบรรดาศักดิ์ของขุนนางไทยนี้ ได้ตราออกมาเป็นกฎหมาย เรียกว่า [[พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง]] พ.ศ. 1998 ในแผ่นดิน[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] กษัตริย์ผู้ครองกรุงศรีอยุธยา
 
[[ไฟล์:เจ้าพระยาพลเทพ.jpg|thumb|300px|right| ([[เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร)]]) เสนาบดีในรัชกาลที่ 5 ]]
ระบบบรรดาศักดิ์ของขุนนางไทยนี้ ได้ตราออกมาเป็นกฎหมาย เรียกว่า [[พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง]] พ.ศ. 1998 ในแผ่นดิน[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] กษัตริย์ผู้ครองกรุงศรีอยุธยา
 
== ประวัติ ==
บรรดาศักดิ์ของขุนนางไทยมีความแตกต่างกับตะวันตกเนื่องจากระบบที่แตกต่างกัน ขุนนางตะวันตกเป็นขุนนางสืบตระกูล และไม่ใช่ข้าราชการ แม้ว่าขุนนางบางคนรับราชการ แต่ขุนนางไทยเป็นข้าราชการ และตำแหน่งขุนนางผูกพันกับระบบราชการ ส่วนขุนนางตะวันตกนั้น ตำแหน่งขุนนาง ผูกพันกับการถือครองที่ดิน ที่ได้รับพระราชทานไว้แต่เดิม และส่วยสาอากร หรือผลประโยชน์ที่เกิดจากที่ดินนั้น ขุนนางตะวันตก จึงมีส่วนคล้ายกับเจ้าต่างกรม ของไทย ในส่วนของผลประโยชน์ในตำแหน่ง เช่น ส่วย กำลังคน เป็นต้น แต่เจ้าต่างกรมของไทย ก็ไม่ได้สืบตระกูล
 
ดังนั้น บรรดาศักดิ์ของขุนนางไทยจึงน่าจะเป็นชั้นยศ (Rank) มากกว่าเป็นบรรดาศักดิ์ (Title) ตามหลักการสมัยใหม่ การเทียบตำแหน่งขุนนางไทยโบราณกับปัจจุบันจึงไม่ยากนัก เพราะเมื่อเป็นชั้นยศ ที่หมายถึงลำดับสูงต่ำของคนในระบบนั้น ก็เอาระดับสูงสุด กับต่ำสุดมาเทียบกัน และประมาณการเอาได้ โดยไม่ยาก แต่อาจจะไม่ตรงกันโดยสมบูรณ์ แต่ก็จะทราบอย่างคร่าวๆ เช่น
เส้น 23 ⟶ 25:
 
== บรรดาศักดิ์ขุนนางไทย ==
บรรดาศักดิ์ของ[[ขุนนางไทย]]แบ่งออกได้เป็น 8 ระดับ<ref>[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] , หน้า 651</ref>คือ
# เจ้าพระยา
# พระยา
เส้น 44 ⟶ 46:
 
== สมเด็จเจ้าพระยา ==
 
บรรดาศักดิ์ สมเด็จเจ้าพระยา นั้น เพิ่งมามีครั้งแรกในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราช ต่อมาใน[[รัชกาลที่ 4]] และ[[รัชกาลที่ 5]] ได้สถาปนาขึ้นอีก 1 ท่าน หลังจากนั้น ก็ไม่มีผู้ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาอีก สมเด็จเจ้าพระยาจึงมีเพียง 4 ท่าน คือ
# [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก|สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก]] บรรดาศักดิ์สุดท้ายในพระบาทสมเด็จพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ ก่อนปราบดาภิเษกเป็นพระเจ้าแผ่นดินราชวงศ์ใหม่
เส้น 56 ⟶ 57:
 
== เจ้าพระยา ==
 
ส่วนบรรดาศักดิ์ เจ้าพระยานั้น เป็นบรรดาศักดิ์ขุนนางที่สูงที่สุด ตามพระไอยการนาพลเรือน นายทหาร หัวเมือง ในสมัยอยุธยา มีเพียง 5 ตำแหน่ง (ศักดินา 10,000) คือ
 
# เจ้าพระยามหาอุปราชชาติวรวงษ์องคภักดีบดินทร สุรินทรเดโชไชยมหัยสุริยภักดีแสนอญาธิราช ขุนนางอาวุโสหน้าพระที่นั่ง (ตอนหลังให้เลิกเนื่องจากมีพระมหาอุปราชาศักดินา 100000 ทำหน้าที่แทน)
 
=== อัครมหาเสนาบดี (ปกติศักดินา 10000 เว้นแต่ถ้าเป็นเจ้าต่างกรมให้ศักดินาสูงกว่า 10000) ===
บรรทัด 70:
 
== พระยา ==
 
ส่วน บรรดาศักดิ์ พระยา นั้น เป็นบรรดาศักดิ์ สำหรับขุนนางระดับสูง หัวหน้ากรมต่างๆ เจ้าเมืองชั้นโท และแม่ทัพสำคัญ ในพระไอยการฯ มีเพียง 33 ตำแหน่ง ดังนั้น จึงมีประเพณี พระราชทานเครื่องยศ (โปรดดูเรื่อง [[เครื่องราชอิสริยยศไทย]]) ประกอบกับบรรดาศักดิ์ด้วย โดย พระยาที่มีศักดินามากกว่า 5,000 จะได้รับพระราชทานพานทอง ประกอบเป็นเครื่องยศ จึงเรียกกันว่า '''พระยาพานทอง''' ซึ่งถือเป็นขุนนางระดับสูง ส่วนพระยาที่มีศักดินาต่ำกว่านี้ จะไม่ได้รับพระราชทานพานทอง
 
เส้น 76 ⟶ 75:
 
== ขุนนางที่มีศักดินา 10,000 ==
ขุนนางที่มีศักดินา 10,000 ที่ถือว่าเป็นขุนนางระดับสูงนั้น นอกจาก '''เจ้าพระยา''' ทั้งห้าตำแหน่งนั้นแล้ว ในทำเนียบพระไอยการฯ ยังมีอีก 16 ตำแหน่ง แต่มีบรรดาศักดิ์ระดับต่ำกว่าเจ้าพระยา คือ
 
ขุนนางที่มีศักดินา 10,000 ที่ถือว่าเป็นขุนนางระดับสูงนั้น นอกจาก '''เจ้าพระยา''' ทั้งห้าตำแหน่งนั้นแล้ว ในทำเนียบพระไอยการฯ ยังมีอีก 16 ตำแหน่ง แต่มีบรรดาศักดิ์ระดับต่ำกว่าเจ้าพระยา คือ
 
=== จตุสดมภ์ (เสาหลักราชการทั้ง 4 - ศักดินา 10000 ต่ำกว่าอัครมหาเสนาบดี) ===
# พระยายมราชอินทราธิบดีศรีวิไชยบริรักโลกากรทัณทะราช เสนาบดีนครบาล (ที่ จตุสดมภ์ - ภายหลังได้แก้จาก พระยา เป็นเจ้าพระยา)
# ออกพญาธารมาธิบดีสรีวิริยพงษวงษภักดีบดินทรเดโชไชยมะไหยสุริยาธิบดีรัตนมลเทียรบาล เสนาบดีกรมวัง (ที่ จตุสดมภ์ - ภายหลังได้แก้จาก พระยา เป็นเจ้าพระยา)
# ออกพญาศรีธรรมราชเดชะชาติอำมาตยานุชิตพิพิทรัตนราชโกษาธิบดีอะภัยรีพิริยะกรมภาหุ ตราบัวแก้ว เสนาบดีกรมพระคลัง (ที่ จตุสดมภ์ - ภายหลังได้แก้จาก พระยา เป็นเจ้าพระยา แล้ว ภายหลังได้ยกให้เป็นที่ระดับเดียวกับอัครมหาเสนาบดี เพราะต้องรับผิดชอบด้านการคลังและการต่างประเทศ รวมมทั้งหัวเมืองชายทะเลฝ่ายตะวันออก)
# ออกญาพลเทพราชเสนาบดีศรีไชยนพรัตนเกษตราธิบดี เสนาบดีกรมนา (ที่ จตุสดมภ์ - ภายหลังได้แก้จาก พระยา เป็นเจ้าพระยา)
 
=== ขุนนางชั้นสูงระดับนาหมื่น ที่ต่ำกว่าจตุสดมภ์ ===
# ออกญาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีศรีสุภะราชพิรียภาหุ เจ้ากรมธรรมการ
# พระมหาราชครูพระราชประโรหิตาจารย์ราชสุภาวดีศรีบรมหงษ์องคบุริโสดมพรหมญาณวิบุลสิลสุจริต วิวิทธเวทยพรหมพุทธาจารย์ ปุโรหิต
# พระมหาราชครูพระครูมหิธรธรรมราชสุภาวดีศรีวิสุทธิคุณวิบูลธรรมวิสุทธิพรมจาริยาธิบดีศรีพุทธาจารย พราหมณ์
# พระยารามจัตุรงค์ จางวางกรมอาสาหกเหล่า
# ออกพญาศรีราชเดโชไชยอะไภรีพิรียปรากรมภาหุ เดโช เจ้ากรมอาสาหกเหล่าขวา
# ออกพญาศรีราชเดชไชยท้ายน้ำอะไภยรีพิรียปรากรมภาหุ ท้ายน้ำ เจ้ากรมอาสาหกเหล่าซ้าย
 
=== ออกญานาหมื่นที่รั้งหัวเมืองชั้นโท (ภายหลังให้ยกเป็นเจ้าพระยา) ===
# ออกญาเกษตรสงครามรามราชแสนญาธิบดีศรีสัชนาลัยอภัยรีพิรียบรากรมภาหุ เจ้าเมือง[[สวรรคโลก]]
# ออกญาศรีธรรมศุภราชชาติบดินทรสุรินทฤๅไชยอภัยพิรียภาหุ เจ้าเมือง[[สุโขทัย]]
# ออกญารามรณรงค์สงครามรามภักดีอภัยพิรียภาหะ เจ้าเมือง[[กำแพงเพชร]]
# ออกญาเพชรรัตนสงครามรามภักดีอภัยพิรียภาหะ เจ้าเมือง[[เพชรบูรณ์]]
# ออกญากำแหงสงครามรามภักดีอภัยพิรียบรากรมภาหุ เจ้าเมือง[[นครราชสีมา]] (ภายหลังได้รับการยกเป็นหัวเมืองชั้นเอกเพราะศึกเจ้าอนุเวียงจันท์)
# ออกญาไชยยาธิบดีศรีรณรงค์ฤๅไชยอภัยพิรียบรากรมภาหุ เจ้าเมือง[[ตะนาวศรี]]
# ออกญาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวางอภัยพิรียบรากรมภาหุ เจ้าเมือง[[สุรินทร์]]
 
== ขุนนางที่มีศักดินา 5,000 ==
 
ขุนนางที่มีศักดินา 5,000 ตามพระไอยการฯ ซึ่งถือว่าเป็นขุนนางระดับสูง รองลงมาจากขุนนางศักดินา 10,000 มี 21 ตำแหน่ง ดังต่อไปนี้
 
# ออกญาศรีสุริยะราชาไชยอภัยพิรียภาหะ เจ้าเมืองเมือง[[อำเภอพิชัย|พิชัย]]
# ออกญาเทพาธิบดีศรีรณรงค์ฤๅไชยอภัยพิรียภาหะ เจ้าเมืองเมือง[[พิจิตร]]
# ออกญาไกรเพชรรัตนสงครามรามภักดีพิรียภาหะ เจ้าเมืองเมือง[[นครสวรรค์]]
# ออกญาแก้วเการพยพิไชยภักดีบดินทรเดโชไชยอภัยพิรียะภาหะ เจ้าเมืองเมือง[[พัทลุง]]
# ออกญาเคางะทราธิบดีศรีสุรัตวลุมหนัก เจ้าเมืองเมือง[[ชุมพร]]
# ออกพระไชยธิบดีรณรงค์ฤๅไชยอภัยพิรียะภาหะ เจ้าเมืองเมือง[[จันทบุรี|จันทบูรณ์]]
# ออกพระวิชิตภักดีศรีพิไชยสงคราม เจ้าเมืองเมือง[[อำเภอไชยา|ไชยา]]
# ออกพระราชสุภาวดี ศรีสจะเทพณรายสมุหะมาตยาธิบดีศรีสุเรนทราเมศวร เจ้ากรมพระสุรัสวดีกลาง
# ออกพระศรีภูริยปรีชาราชเสนาบดีศรีสารลักษณ เจ้ากรมอาลักษณ์
# พระราชครูพระครูพิเชดษรราชธิบดีศรีษรคม พราหมน์
# พระธรรมสาตรโหระดาจารยปลัดมหิธร พราหมน์
# พระราชครูพระครูพิรามราชสุภาวดีตรีเวทจุทามะณีศรีบรมหงษ์ ปุโรหิต
# พระอุไทยธรรม เจ้ากรมภูษามาลา
# พระเพทราชาธิบดีศรีสุริยาภิชาติสุริยวงษ์องคสมุหะ สมุหะพระคชบาลจางวางขวา
# พระสุรินทราราชาธิบดีศรีสุริยศักดิ์ สมุหะพระคชบาลจางวางซ้าย
# พระเพชรพิไชย จางวาง กรมล้อมพระราชวัง
# พระราชภักดีศรีรัตนราชสมบัติพิริยภาหะ เจ้ากรมพระคลังมหาสมบัติ
# พระพิชัยสงคราม เจ้ากรมอาสาซ้าย
# พระรามคำแหง เจ้ากรมอาสาขวา
# พระพิชัยรณฤทธิ เจ้ากรมเขนทองขวา
# พระวิชิตรณรงค์ เจ้ากรมเขนทองซ้าย
 
== ขุนนางที่มีศักดินา 3,000 ที่รั้งหัวเมืองตรี และ หัวเมืองจัตวา ==
# พระราชฤทธานนพหลภักดี ปลัดเมือง[[พิษณุโลก]]
# พระศรีราชสงคราม ปลัดเมือง[[นครศรีธรรมราช]]
# ออกพระศรีสุรินทฤๅไชย เจ้าเมือง[[เพชรบุรี]]
# ออกพระสุระบดินทร์สุรินฤ่ไชย เจ้าเมือง[[ชัยนาท]]
# ออกเมืองอินทบุรี เจ้าเมือง[[อำเภออินทร์บุรี|อินทบุรี]]
# ออกเมืองพรมบุรีย์ เจ้าเมือง[[อำเภอพรหมบุรี|พรหมบุรี]]
# ออกพระญี่สารสงคราม เจ้าเมือง[[สิงห์บุรี]]
# ออกพระนครพราหมณ์ เจ้าเมือง[[ลพบุรี]]
# ออกพระพิไชยรณรงค์ เจ้าเมือง[[สระบุรี]]
# ออกพระพิไชยสุนทร เจ้าเมือง[[อุทัยธานี]]
# ออกพระศรีสิทธิกัน เจ้าเมือง[[อำเภอมโนรมย์|มโนรมย์]]
# ออกพระวิเศษไชยชาญ เจ้าเมือง[[อำเภอวิเศษชัยชาญ|วิเศษไชยชาญ]]
# ออกพระสวรรคบุรี เจ้าเมือง[[สวรรคบุรี]]
# ออกพระพิไชยภักดีสรีมไหยสวรรค เจ้าเมือง[[กาญจนบุรี]]
# ออกพระพลคบุรีย์ เจ้าเมือง[[อำเภอไทรโยค|ไทรโยค]]
# ออกพระสุนธรสงครามรามพิไชย เจ้าเมือง[[สุพรรณบุรี]]
# ออกพระศรีสวัสดิ์บุรีย์ เจ้าเมือง[[อำเภอศรีสวัสดิ์|ศรีสวัสดิ์]]
# ออกพระสุนธรบุรียศรีพิไชยสงคราม เจ้าเมือง[[อำเภอนครไชยศรี|นครไชยศรี]]
# ออกพระอมรินฤๅไชย เจ้าเมือง[[ราชบุรี]]
# ออกพระพิบูลย์สงคราม เจ้าเมือง[[นครนายก]]
# ออกพระอุไทยธานี เจ้าเมือง[[ปราจีนบุรี]]
# ออกพระพิไชยภักดีสรีวิสุทธิสงคราม เจ้าเมือง[[อำเภอกุยบุรี|กุย]]
# ออกพระราชภักดีศรีสงคราม เจ้าเมือง[[ระยอง]]
# พระวิเศศฤๅไชย เจ้าเมือง[[ฉะเชิงเทรา]]
# พระนนทบุรีศรีมหาสมุทร เจ้าเมือง[[นนทบุรี]]
# พระสมุทรสาคร เจ้าเมือง[[จังหวัดสมุทรสาคร|ท่าจีน]]
# พระสมุทรประการ เจ้าเมือง[[จังหวัดสมุทรสงคราม|แม่กลอง]]
# พระชนยบุรีย เจ้าเมือง[[ชลบุรี]]
# พระปรานบุรีย์ศรีสงคราม เจ้าเมือง[[อำเภอปราณบุรี|ปราณบุรี]]
# พระบางลมุง เจ้าเมือง[[อำเภอบางละมุง|บางละมุง]]
# พระศรีสมรรัตนราชภักดีศรีบวรพัช เจ้าเมือง[[ท่าโรง]]
# พระนครไชยสินนรินท เจ้าเมือง[[บัวชุม]]
# พระจันบูรราชภักดีศรีขันทเสมา เจ้าเมืองกำพราน
# พระไชยบาดาล เจ้าเมือง[[อำเภอชัยบาดาล|ไชยบาดาล]]
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 170 ⟶ 167:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* กฎหมายตรา 3 ดวง ฉบับพิมพ์มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง แก้ไขปรับปรุงใหม่ (1 ชุด มี 3 เล่ม), สถาบันปรีดี พนมยงค์, 2548
 
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ไทย| ]]