ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาในสหราชอาณาจักร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus ย้ายหน้า ประเพณีการดื่มชาของชาวอังกฤษ ไปยัง ชาในสหราชอาณาจักร: ไม่ใช่แค่การดื่มชา
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=260px}}
[[ไฟล์:Milk clouds in tea.jpeg|thumb|260px |ชากับนม]]
'''ประเพณีการดื่มชาของอังกฤษสหราชอาณาจักร''' ชาวอังกฤษสหราชอาณาจักรเป็นชาติที่ดื่มชาเป็นลำดับสองของโลกเมื่อเปรียบกับอัตราต่อคน ชาวอังกฤษสหราชอาณาจักรแต่ละคนดื่มชาคนละประมาณ 2.1 กิโลกรัมต่อปี<ref name=waning>[http://www.foodanddrinkeurope.com/news/ng.asp?id=17656-britons-have-less “Britons have less time for tea],” ''Food & Drink''. 16 June 2003. '' (Retrieved 2009-05-09.) ''</ref> ความนิยมในการดื่มชามีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อ[[อินเดีย]]เป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิอังกฤษ]] และอังกฤษสหราชอาณาจักรมีความต้องการที่จะควบคุมการผลิตชาในอนุทวีปอินเดีย แต่ผู้ที่นำประเพณีการดื่มชาเข้ามาในอังกฤษสหราชอาณาจักรเป็นคนแรกก็คือ[[แคทเธอรีนแห่งบราแกนซา]] สมเด็จพระราชินีใน[[สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]] ในราวระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1660 ถึง 1670 แต่ในระยะแรกก็เป็นประเพณีสำหรับชนชั้นสูงเท่านั้นที่ไม่ได้แพร่หลายในบรรดาประชากรทั่วไปเพราะยังเป็น[[สินค้าฟุ่มเฟือย]] จนต่อมาเมื่อราคาชาถูกลง เมื่อประเพณีนี้เผยแพร่ทั่วไปใน[[สหราชอาณาจักร]]ก็เริ่มมีการจัด[[สวนชา]] (Tea garden) ที่เป็นสถานที่ดื่มชาและเดินเล่น หรือการจัด[[การเต้นรำชา]] (Tea dance) ที่อาจจะเป็นการเต้นรำตอนบ่ายหรือพลบค่ำ ที่อาจจะรวมทั้งการดูดอกไม้ไฟ หรือมีการเลี้ยงอาหารค่ำด้วย และจบลงด้วยการดื่มชา สวนชาเสื่อมความนิยมลงหลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] แต่การเต้นรำก็ยังพบว่ามีการจัดกันอยู่บ้าง
 
== วิธีการดื่มชาของอังกฤษสหราชอาณาจักร ==
การดื่มชาในอังกฤษสหราชอาณาจักรมักจะเป็น[[ชาดำ]]ที่เสิร์ฟกับนมและบางครั้งก็น้ำตาลด้วย ชาแก่ที่เสิร์ฟกับนมและน้ำตาลจำนวนมากในถ้วยใหญ่เหมือนกระบอกที่เรียกว่า “[[mug]]” มักจะเรียกกันว่า “[[ชาคนงาน]]”งาน” (Builders tea) โดยทั่วไปแล้วการดื่มชาในอังกฤษสหราชอาณาจักรจะไม่ใช่วัฒนธรรมชั้นสูงที่ละเอียดอ่อนอย่างที่เข้าใจกันทั่วโลก แต่เป็นเพียงกิจวัตรประจำวันเช่นเดียวกับการดื่มกาแฟของชาติอื่น ตามปกติแล้วชาวอังกฤษก็สหราชอาณาจักรจะดื่มชากันวันละอาจจะห้าถึงห้าหรือหกถ้วย (หรือ “หมัก”) แต่ก็มิได้หมายความว่าชาวอังกฤษจะไม่มีประเพณีการดื่มชากันอย่างเป็นทางการหรือในโอกาสพิเศษ สำหรับชนชั้นที่ทำมาหากินมีอาชีพกันโดยทั่วไปการพักดื่มชาก็เป็นส่วนสำคัญในชีวิตประจำวัน โดยทั่วไปแล้วนายจ้างก็มักจะอนุญาตให้มีการพักดื่มชาสายครั้งหนึ่งและบ่ายอีกครั้งหนึ่ง
 
=== การดื่มชาเป็นมื้ออาหาร ===
[[ไฟล์:Devonshire_tea.jpg|thumb|260px |ชุด “Cream tea” ที่ประกอบด้วยชา<br />และสโคนกับครีมข้นและแยม<br />จากซ้ายไปขวา:แยม สโคน ครีมข้น กาชา นมในเหยือกเล็ก ที่กรองชา (หลังเหยือกนม) และถ้วยชา ถ้าเสร์ฟเสิร์ฟพร้อมกับกาอีกกาหนึ่งก็มักจะเป็นกาที่ใหญ่กว่ากาที่มีใบชา และจะซึ่งเป็นกาน้ำร้อนสำรองเพื่อใช้เติมในกาชาเมื่อเทชาในกาชาออกหมด]]
ชาไม่เพียงเป็นแค่เครื่องดื่มเท่านั้น แต่ยังหมายถึงอาหารว่างมื้อบ่าย (Tea (meal)) ไม่ว่าเครื่องดื่มจะเป็นชาหรือไม่ [[Anna Russell, Duchess of Bedford|แอนนา รัสเซลล์ ดัชเชสแห่งเบดฟอร์ด]]ได้ชื่อว่าเป็นผู้ริเริ่มอาหารว่างมื้อบ่าย ราว ค.ศ. 1800 เพื่อแก้หิวระหว่างคอยอาหารค่ำ ซึ่งก็ยังประเพณีที่ปฏิบัติกันอยู่บ้างในปัจจุบัน
 
ประเพณีอีกอย่างหนึ่งทีเคยเป็นที่นิยมคือ[[ร้านน้ำชา]] (tea room) ซึ่งเป็นสถานที่ที่เสิร์ฟชาและ[[สโคน]] (คล้ายมัฟฟินแต่ไม่หวาน) กับ[[ครีมข้น]] (Clotted cream) ซึ่งเป็นครีมที่ข้นเหมือนเนย) และแยมผลไม้ การดื่มชากับสโคนกับครีมและแยมเรียกรวมกันว่า “Cream tea” แต่ประเพณีหมดความนิยมลงตั้งแต่หลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] การดื่มครีมทีจึงทำกันแต่ในบางโอกาส [[เดวอน]]และ[[คอร์นวอลล์]]มีชื่อเสียงในเรื่องครีม การเรียก “Cream tea” มักจะทำให้เข้าใจผิดกันว่าเป็นการดื่มชากับครีมซึ่งไม่เป็นความจริง
 
=== บัตรชา ===
ระหว่างคริสต์ศตวรรษ 1940 จนถึงคริสต์ศตวรรษ 1980 ใบชาที่ขายเป็นกล่องในสหราชอาณาจักรอาจจะมีบัตรรูปอยู่ภายในกล่องที่โดยมีขนาดเดียวกับบัตรบุหรี่ที่เป็นสิ่งที่มีความมุ่งหมายให้เป็นสิ่งสะสมสำหรับเด็ก บริษัทที่ขายชาใส่บัตรที่รู้จักกันดีก็มีชาไทฟู (Typhoo tea) และ บรุคบอนด์ผู้ผลิต ชาพีจีทิพส์ (PG Tips) ที่ต่อมาแจกอัลบั้มให้ใส่บัตรด้วย รูปที่เป็นบัตรก็เขียนโดยศิลปินที่บริษัทจ้างมาเช่นชาร์ลส์ ทันนิคลิฟฟ์ ปัจจุบันบัตรบางบัตรก็กลายเป็นของมีค่า
 
=== การดื่มชาของชาวอังกฤษในปัจจุบัน ===
การสำรวจของบริษัท[[อินฟอร์มา]] (Informa) ระบุว่าจำนวนการดื่มชาตามปกติในสหราชอาณาจักรมีแนวโน้มในทางที่ลดลง<ref name=waning/> <!-- There was a 10¼ pecent decline in the purchase of normal teabags in Britain between 1997 and 2002.<ref name=waning/> --> แต่การขายกาแฟในช่วงเดียวกันก็มิได้เพิ่มขึ้น<ref name=waning/> ชาวอังกฤษสหราชอาณาจักรหันไปดื่มสิ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกายมากกว่าเช่นน้ำผลไม้ หรือชาที่ทำจากดอกไม้หรือผลไม้แทนที่ ที่จากสถิติแสดงให้เห็นจากสถิติของการดื่มเครื่องดื่มที่ว่าสูงขึ้นถึงอัตราร้อยละ 50 ระหว่างปี ค.ศ. 1997 จนถึงปี ค.ศ. 2002<ref name=waning/> นอกจากนั้นสิ่งที่น่าสนใจคือสถิติของการขายชาและกาแฟที่ปราศจากคาเฟอีนในช่วงเดียวกันก็ลดลงมากยิ่งกว่าชาหรือกาแฟปกติ<ref name=waning/>
 
== ประเพณีการทำน้ำชาของชาวอังกฤษโดยทั่วไป ==
การสำรวจของบริษัท[[อินฟอร์มา]] (Informa) ระบุว่าจำนวนการดื่มชาตามปกติในสหราชอาณาจักรมีแนวโน้มในทางที่ลดลง<ref name=waning/> <!-- There was a 10¼ pecent decline in the purchase of normal teabags in Britain between 1997 and 2002.<ref name=waning/> --> แต่การขายกาแฟในช่วงเดียวกันก็มิได้เพิ่มขึ้น<ref name=waning/> ชาวอังกฤษหันไปดื่มสิ่งที่มีประโยชน์ต่อร่างกายมากกว่าเช่นน้ำผลไม้ หรือชาที่ทำจากดอกไม้หรือผลไม้แทนที่ ที่แสดงให้เห็นจากสถิติของการดื่มเครื่องดื่มที่ว่าสูงขึ้นถึงอัตราร้อยละ 50 ระหว่างปี ค.ศ. 1997 จนถึงปี ค.ศ. 2002<ref name=waning/> นอกจากนั้นสิ่งที่น่าสนใจคือสถิติของการขายชาและกาแฟที่ปราศจากคาเฟอีนในช่วงเดียวกันก็ลดลงมากยิ่งกว่าชาหรือกาแฟปกติ<ref name=waning/>
ในปัจจุบันการดื่มชาก็มักจะเป็นเพียงการเอาถุงชาใส่ "Mug" และราดด้วยน้ำเดือด หรือถ้าซื้อชาหนึ่งแก้วในร้านอาหารประเภทเซิร์ฟตัวเองผู้ซื้อก็จะได้ถ้วยชาเปล่ากับถุงชาหนึ่งถุงซึ่งไปเติมน้ำร้อนจากหม้อ และเติมนมและน้ำตาลเอาตามใจชอบ แต่ถ้าเป็นโอกาสการดื่มชาที่เป็นทางการก็จะมีการใช้ถ้วยชาและจานรองแทนที่จะเป็น “Mug” อย่างที่ใช้กันทั่วไปในปัจจุบัน หรือถ้าใช้ “Mug” ก็อาจจเป็นขนาดที่ย่อมหน่อย การทำชาโดยทั่วไปจะประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้:
 
== ประเพณีทำชาของชาวอังกฤษโดยทั่วไป ==
ในปัจจุบันการดื่มชาก็มักจะเป็นเพียงการเอาถุงชาใส่ "Mug" และราดด้วยน้ำเดือด หรือถ้าซื้อชาหนึ่งแก้วในร้านอาหารประเภทเซิร์ฟตัวเองผู้ซื้อก็จะได้ถ้วยชาเปล่ากับถุงชาหนึ่งถุงซึ่งไปเติมน้ำร้อนจากหม้อ และเติมนมและน้ำตาลเอาตามใจชอบ แต่ถ้าเป็นโอกาสการดื่มชาที่เป็นทางการก็จะมีการใช้ถ้วยชาและจานรองแทนที่จะเป็น “Mug” อย่างที่ใช้กันทั่วไปในปัจจุบัน หรือถ้าใช้ “Mug” ก็อาจจเป็นขนาดที่ย่อมหน่อย การทำชาโดยทั่วไปจะประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้:
 
# ต้มน้ำให้เดือดและเทลงในกาชาเล็กน้อย
# หมุนกาชาให้น้ำร้อนกลั้วกาชาให้ทั่วเพื่ออุ่นกา แล้วเทน้ำทิ้ง
# ใส่ใบชา (ปัจจุบันใช้ถุงชาเป็นส่วนใหญ่) ลงไปในกาชา กาชาขนาดกลางก็มักจะใช้ถุงชาราวสองถุงหรือสามถ้าชอบรสแก่ ขณะเดียวกันก็ต้มน้ำร้อนต่อให้เดือด
# เติมน้ำร้อนลงในกาชา และคลุมกาชาด้วยถุงที่บุด้วยฉนวนที่เรียกว่า “tea cosy” เพื่อรักษาความร้อนของกาชา ทิ้งชาไว้ในกาสักครู่เพื่อให้ชาออกรสและได้ที่
# เทนมในถ้วยชาที่จะเสิร์ฟหรืออาจจะรอให้ผู้ดื่มเติมเอง ถ้าเจ้าของบ้านเป็นผู้เติมให้ก็จะถามก่อนว่าจะดื่มชาอย่างไร ผู้ถูกถามก็อาจจะตอบว่า “กับนมและน้ำตาล” หรือ “กับนม” หรือ “ไม่ใส่อะไร”
# เทชาลงถ้วย ถ้าเป็นใบชาก็อาจจะเทผ่านที่กรองเล็กๆ
# ถ้าเสิร์ฟเป็นชาดำ ผู้ดื่มก็มักจะเติมนมและ/หรือน้ำตาลเองตามใจชอบ
# เติมใบชาในกา และน้ำร้อนเพิ่มสำหรับเสิร์ฟถ้วยต่อไป
 
การเติมนมก่อนหรือหลังเทชาจึงดีก็เป็นเรื่องที่โต้แย้งกันมานาน โดยมีที่มาจากพื้นฐานที่ว่าเวลาที่เติมมีผลทำให้ชาเปลี่ยนรส แต่ก็ยังหรือไม่เป็นทีตกลงกันได้
 
ข้อที่น่าสังเกตคือชาจะต้มทิ้งไว้เหมือนกาแฟไม่ได้ ฉะนั้นตามร้านอาหารจึงไม่มีหม้อชาตั้งไว้ให้เทเหมือนหม้อกาแฟแต่จะมีหม้อน้ำร้อนให้เทในถ้วยชาแทนที่ เพราะเมื่อชาออกรสแล้วก็ต้องดื่มทันที ถ้าใส่น้ำร้อนทิ้งไว้นานก็จะออกเปรี้ยวทำให้เสียรส
 
การดื่มชากับนมและน้ำตาลชาวอเมริกันถือว่าเป็นของแปลกเพราะ[[ประเพณีการดื่มชาของชาวอเมริกัน|การดื่มชาในสหรัฐอเมริกา]]ส่วนใหญ่โดยทั่วไปจะเป็นการดื่มชาดำ
 
== บทบาทของชา ==
นักวิชาการบางท่านเสนอว่าชามีบทบาทสำคัญใน[[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]]ของอังกฤษสหราชอาณาจักร การดื่มชาตอนบ่ายเป็นการทำให้เพิ่มชั่วโมงการทำงานในโรงงานได้มากขึ้น; ชาเป็นสิ่งที่ช่วนกระตุ้นประสาทและเมื่อดื่มกับของว่างของวหวานก็ยิ่งช่วยให้คนงานมีพลังเพิ่มขึ้นในการทำงาน นอกจากนั้นก็ยังกล่าวกันว่าการดื่มชาเป็นการช่วยรักษาสุขภาพอนามัยได้บ้างจากภัยที่การอยู่อาศัยในเมืองเพราะผู้ดื่มชาต้องต้มน้ำก่อนดื่ม ที่ทำให้ผู้ดื่มเลี่ยงจากได้รับเชื้อโรคจากน้ำได้หลายอย่างน้อยลง<ref>[http://www.alanmacfarlane.com/savage/tea.html Tea and the Industrial Revolution<!-- Bot generated title -->]</ref>
 
== สำนวน ==
“ไม่ยอมแม้ว่าจะให้ชาทั้งเมืองจีน” (Not for all the tea in China) สำนวนนี้เริ่มใช้กันมาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19<ref>Phrases.org.uk: Not for all the tea in China[http://www.phrases.org.uk/meanings/not-for-all-the-tea-in-china.html]</ref> ถ้าผู้ใดกล่าวว่าจะไม่ยอมทำแม้ว่าจะให้ชาทั้งเมืองจีนก็แสดงว่าผู้นั้นมีความเด็ดเดี่ยวแน่วแน่ วลีนี้อาจจะมาจากการที่ชาเดิมเป็นของมีค่าและหายาก เมื่อการดื่มชาเข้ามาในอังกฤษสหราชอาณาจักรใหม่ๆ คนชั้นสูงเท่านั้นที่สามารถหาซื้อและดื่มชาได้ ใบชาก็ต้องเก็บล็อกไว้ในโต๊ะชาที่สร้างเป็นพิเศษสำหรับการเก็บชาเพื่อกันจากการนำไปใช้โดยผู้รับใช้
 
== อ้างอิง ==