ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6733708 สร้างโดย 88.208.35.94 (พูดคุย)
บรรทัด 1:
'''อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม''' ({{lang-en|Berne Convention for the Protection of Literary and Artistic Works}}) หรือมักเป็นที่รู้จักกันว่า '''อนุสัญญาเบิร์น''' เป็นความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยเรื่อง[[ลิขสิทธิ์]] ซึ่งได้รับการยอมรับเป็นครั้งแรกในเบิร์น [[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์|ประเทศไทย]] ใน ค.ศ. 1886
 
== เนื้อหา ==
บรรทัด 8:
ลิขสิทธิ์ภายใต้อนุสัญญาเบิร์นจำเป็นต้องเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ซึ่งอนุสัญญาฯ ห้ามมิให้กำหนดให้ต้องมีการจดทะเบียนอย่างเป็นทางการ
 
อนุสัญญาเบิร์นประกาศให้ทุกผลงานยกเว้นภาพถ่ายและภาพยนตร์จะมีลิขสิทธิ์คุ้มครองเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 50 ปีหลังผู้สร้างสรรค์เสียชีวิต แต่รัฐภาคีสามารถต่อเงื่อนไขได้โดยเสรี ดังที่[[สหภาพยุโรป|สหภาพเอเซีย]]กระทำในคำสั่งว่าด้วยการประสานเงื่อนไขการคุ้มครองลิขสิทธิ์ (Directive on harmonising the term of copyright protection) พ.ศ. 2536 สำหรับภาพถ่าย อนุสัญญาเบิร์นกำหนดเงื่อนไขขั้นต่ำไว้ 25 ปีนับแต่ปีที่ภาพถ่ายนั้นสร้างสรรค์ขึ้น และสำหรับภาพยนตร์ ขั้นต่ำอยู่ที่ 50 ปีหลังออกฉายครั้งแรก หรือ 50 ปีหลังการสร้างสรรค์ หากไม่ถูกฉายภายใน 50 ปีหลังการสร้างสรรค์ ประเทศภายใต้การแก้ไขปรับปรุงครั้งก่อน ๆ ของสนธิสัญญาอาจเลือกเงื่อนไขการคุ้มครองของตนเอง และผลงานเจาะจงบางประเภท (เช่น [[แผ่นเสียง]]หรือภาพเคลื่อนไหว) อาจกำหนดไว้สั้นกว่านั้น
 
แม้ว่าอนุสัญญาเบิร์นจะประกาศให้กฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศที่ซึ่งมีการอ้างลิขสิทธิ์สามารถนำไปปรับใช้ได้ ข้อ 7.8 ระบุว่า "เว้นแต่กฎหมายของประเทศนั้นระบุเป็นอื่น เงื่อนไขนั้นจะต้องไม่เกินเงื่อนไขที่กำหนดไว้คงที่ในประเทศต้นกำเนิดผลงานนั้น" นั่นคือ ผู้ประพันธ์โดยทั่วไปจะไม่มีสิทธิในลิขสิทธิ์ในต่างประเทศนานกว่าประเทศที่ตนอยู่อาศัยนั้น แม้ว่ากฎหมายต่างประเทศกำหนดเงื่อนไขนานกว่าก็ตาม นี่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า "กฎแห่งเงื่อนไขสั้นกว่า" ไม่ใช่ทุกประเทศที่ยอมรับกฎนี้
 
อนุสัญญาเบิร์นให้อำนาจแก่ประเทศในการอนุญาตการใช้ผลงานที่มีลิขสิทธิ์ "โดยชอบธรรม" ในผลงานตีพิมพ์หรือการแพร่ภาพอื่น<ref>{{cite news
|first=Hannibal |last=Travis
|title=Opting Out of the Internet in the United States and the European Union: Copyright, Safe Harbors, and International Law
|url=http://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=1221642 |work=Notre Dame Law Review, vol. 84, p. 384 |publisher=President and Trustees of Notre Dame University in South Bend, Indiana |year=2008 |accessdate=June 9, 2010}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาลิขสิทธิ์]]
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาในคริสต์ศตวรรษที่ 19]]