ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าแก้วนวรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| ภาพ = ไฟล์:King Kaew Naowarat.jpg
| พระนาม = แก้ว ณ เชียงใหม่
| ราชสมภพประสูติ = [[29 กันยายน]] [[พ.ศ. 2405]]
| วันพิราลัย= [[3 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]] (76 พรรษา)
| พระอิสริยยศ = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่|เจ้านครเชียงใหม่]]
| ฐานันดรศักดิ์ = [[เจ้านายฝ่ายเหนือ|เจ้าหลวง]]
| พระราชบิดา = [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]]
| พระอัฐิ = [[กู่เจ้านายฝ่ายเหนือ]]
| พระราชมารดา= แม่เจ้าเขียว
| พระมเหสี = [[แม่เจ้าจามรี]]
| หม่อม = เจ้าหญิงไฟ <br> [[หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่|หม่อมบัวเขียว]] <br> หม่อมแส
| ราชพระโอรส/ธิดา = 4 พระโอรส <br> 2 พระธิดา
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ทิพย์จักร|ทิพย์จักร]]
| ทรงราชย์ = [[23 มกราคม]] [[พ.ศ. 2453]] - [[3 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]]
บรรทัด 21:
| รัชกาลถัดมา =
}}
'''มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ''' ({{lang-nod|[[ไฟล์:LN-King Kaeonawarat.png|90px]]}}) ([[29 กันยายน]] [[พ.ศ. 2405]] - [[3 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]]) ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่ง[[ราชวงศ์ทิพย์จักร]]<ref>รุ่งพงษ์ ชัยนาม. '''ประวัติศาสตร์ล้านนา : ประวัติศาสตร์ไทยที่คนไทยไม่ค่อยมีโกาสได้ศึกษา'''. [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]</ref> และองค์สุดท้ายแห่ง[[นครเชียงใหม่]]
 
== พระราชประวัติ ==
เจ้าแก้วนวรัฐราชสมภพประสูติเมื่อวันที่ [[29 กันยายน]] [[พ.ศ. 2405]] ทรงเป็นราชโอรสใน[[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 7 ราชสมภพแด่พระประสูติแต่แม่เจ้าเขียว และเป็นเจ้าราชนัดดา (หลานปู่) ใน[[พระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง)]] พระยาราชวงศ์นครเชียงใหม่ เจ้าแก้วนวรัฐทรงมีพระขนิษฐาร่วมพระราชมารดา 1 พระองค์ คือ '''เจ้าหญิงจอมจันทร์ ณ เชียงใหม่''' เมื่อทรงโตขึ้นได้เลื่อนพระอิสริยยศตามลำดับ จนกระทั่งวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2447 จึงได้ทรงรับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น''เจ้าอุปราชเมืองนครเชียงใหม่''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/050/932_1.PDF ส่งสัญญาบัตรขุนนางไปพระราชทาน], เล่ม 21, ตอน 50, 12 มีนาคม ร.ศ. 123, หน้า 932</ref>
 
ครั้น[[เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์]]ถึงแก่พิราลัยเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2452 แล้ว [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ซึ่งทรงทราบความที่[[เจ้าดารารัศมี พระราชชายา]] ถวายบังคมลาไปประทับที่นครเชียงใหม่ก่อนแล้ว จึงมีพระราชดำรัสกับเจ้าดารารัศมีให้เลือกผู้แทนเจ้าอินทวโรรส ที่ว่า
บรรทัด 30:
{{คำพูด|ในการเลือกเจ้านครเชียงใหม่แทนเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ตามกฎต้องให้ทายาทผู้สืบตระกูลรับตำแหน่งนี้ ซึ่งควรจะต้องได้แก่[[เจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่)|เจ้าราชบุตร (เลาแก้ว)]] ทายาทแต่ผู้เดียว แต่ในตำแหน่งนี้จะต้องเป็นพระอภิบาลเจ้าดารารัศมี พระราชยายาในรัชกาลที่ 5 ด้วย ในขณะนี้เจ้าราชบุตรยังอายุน้อยอยู่ ฉะนั้นพระราชชายาเจ้าดารารัศมีจึงขอเลือกเจ้าอุปราชแก้ว รับหน้าที่นี้ก่อน...|วชิราวุธ ป.ร.}}
 
ดังนั้นแล้ว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าอุปราช (เจ้าแก้ว) ว่าที่เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2452<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2452/D/2415.PDF แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ให้เจ้าอุปราช (เจ้าแก้ว) ว่าที่เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่], เล่ม 26, 23 มกราคม ร.ศ. 128, หน้า 2415</ref> ต่อมาในวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 จึงได้ทรงรับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นเจ้านครเชียงใหม่ มีราชทินนามว่า ''เจ้าแก้วนวรัฐ ประพัทธ์อินทนันทพงษ์ ดำรงนพิสีนครเขตร ทศลักษณเกษตรอุดม บรมราชสวามิภักดิ์ บริรักษ์ปัจฉิมานุทิศ สุจริตธรรมธาดา มหาโยนางคราชวงษาธิบดี ''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/1808.PDF พระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์], เล่ม 28, ตอน 0 ง, 12 พฤศจิกายน ร.ศ. 130, หน้า 1811</ref>
 
=== ฐานันดรศักดิ์ ===
บรรทัด 40:
* [[พ.ศ. 2462]] เป็นนายพลตรี ราชองครักษ์พิเศษ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2462/D/2295.PDF แจ้งความกรมราชองครักษ์ เรื่อง ตั้งราชองครักษ์พิเศษ]</ref> และนายทหารพิเศษประจำกองทัพบกไทย
 
=== บั้นปลายพระชนม์ชีพชีวิต ===
เจ้าแก้วนวรัฐ ทรงพระประชวรได้เริ่มป่วยตั้งแต่ต้นปี [[พ.ศ. 2481]] แม้ว่าพระองค์ท่านจะทรงมีพระอาการประชวรป่วยแต่ก็ยังเสด็จราชดำเนินเดินทางไปกรุงเทพมหานคร เพื่อรับเสด็จ[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร|สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] เมื่อครั้งเสด็จนิวัติพระนคร ต่อมาปรากฏว่าพระอาการของพระวักกะหรือไตและพระยกนะอักเสบหรือตบตับอักเสบที่ทรงเป็นอยู่ยังไม่ทรงทันจะหายดี ก็พบพระอาการพระปัปผาสะบวมหรือปอดบวมขึ้นอีก จนพระองค์ท่านถึงแก่พิราลัย เมื่อเวลา 21.40 น. ของวันที่ [[3 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]] รวมระยะเวลาที่ทรงครองนคร 28 ปี สิริพระชันษา 76 ปี
 
ครั้นข่าวการถึงแก่พิราลัยแพร่ออกไป บรรดาบุคคลสำคัญก็ได้มีโทรเลขและจดหมายแสดงความเสียใจมาเป็นจำนวนมาก เช่น คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ดังความว่า
{{คำพูด|เจ้าราชบุตร<br>
เชียงใหม่<br>
คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในพระปรมาภิไธย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทราบข่าวด้วยความเศร้าสลดใจว่า เจ้าแก้วนวรัฐฯ ได้ถึงแก่พิราลัยเสียแล้ว จึงขอแสดงความเสียใจอย่างยิ่งมายังบรรดาราชโอรสราชธิดาบุตรและพระราชวงศ์ธิดาโดยทั่วกัน..|
อาทิตย์ทิพอาภา<br>
พล.อ.พิชเยนทร์โยธิน}}
บรรทัด 52:
{{คำพูด|เรียน พ.ท.เจ้าราชบุตร<br>
เชียงใหม่<br>
ผมได้รับโทรเลขของเจ้า แจ้งว่า พล.ต.เจ้าแก้วนวรัฐฯ ได้ถึงแก่พิราลัยแล้ว ในนามของรัฐบาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และในนามของผมเอง ขอแสดงความเสียใจอย่างยิ่งมายังเจ้าและพระญาติทั้งหลายด้วย..|
พิบูลสงคราม<br>
นายกรัฐมนตรี}}
 
ในการพระราชทานน้ำหลวงอาบพระศพ มีนาวาอากาศเอก ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นผู้แทนของรัฐบาลและได้มาเป็นประธานในงานพระราชทานน้ำหลวงอาบพระศพ โดยรถไฟกระบวนพิเศษ พร้อมด้วยเจ้าพนักงานกรมพระราชพิธี มีพระยาราชโกษา เป็นหัวหน้านำ[[โกศ|พระโกศ]] ฉัตร แตร และกลองชนะ ไปพระราชทานเป็นพระเกียรติยศ แต่พระราชทานลองมณฑปมีเฟืองประกอบพระโกศเป็นพระเกียรติยศพิเศษ และโปรดเกล้าฯ ให้มีการประโคม
 
สำหรับการพระราชกุศล ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานผ้าไตรไตรบังสกุล และพระสวดพระอภิธรรมกำหนด 7 วัน และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ข้าราชการแต่งเครื่องแบบครึ่งยศไว้ทุกข์ และทางราชการได้สั่งให้ข้าราชการฝ่ายเหนือ ไว้ทุกข์มีกำหนด 7 วัน
 
== ราชพระโอรส-ธิดา ==
เจ้าแก้วนวรัฐ ทรงมีราชพระโอรสและราชพระธิดา รวม 6 พระองค์ อยู่ในตระกูล [[ณ เชียงใหม่]] มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
 
=== แม่เจ้าจามรี ===
ใน [[แม่เจ้าจามรี]] (มีราชโอรส 2 ราชธิดา 1) - ราชธิดาในเจ้าราชภาคินัย (น้อยแผ่นฟ้า) (ราชโอรสใน"[[เจ้าราชบุตร (สุริยฆาต)]]")
 
* '''[[เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)]]''' - เจ้าชายในตำนาน "[[มะเมียะ]]" อภิเษกเสกสมรสกับ "เจ้าหญิงบัวชุม ณ เชียงใหม่"
* '''[[เจ้าบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่]]''' - อภิเษกสมรสกับ "ร้อยตรีเจ้าน้อยกุย สิโรรส" มีราชธิดา 1 องค์คน คือ เจ้าสร้อยดารา ต่อมาภายหลังอภิเษกสมรสกับ "เจ้าราชภาคินัย (น้อยเมืองชื่น ณ เชียงใหม่)" ไม่มีราชโอรส-ธิดา
* '''[[เจ้าราชบุตร (วงษ์ตวัน ณ เชียงใหม่)|พลตรี เจ้าราชบุตร (วงษ์ตวัน ณ เชียงใหม่)]], เจ้าราชบุตรนครเชียงใหม่''' มีราชธิดา 3 องค์คน
** [[เจ้าวงศ์จันทร์ คชเสนี|เจ้าวงศ์จันทร์ (ณ เชียงใหม่) คชเสนี]]
*** [[ปวิตร คชเสนี]]
บรรทัด 76:
 
=== หม่อมบัวเขียว ===
ใน [[หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่]] (มีราชโอรส 2 องค์ ราชธิดา 1 องค์)
 
* '''[[เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่]]''' - อภิเษกสมรสกับ "หม่อมตระการ (บุนนาค) ณ เชียงใหม่" และ "หม่อมจันทร์สม (ชนะนนท์) ณ เชียงใหม่" มีราชโอรสบุตร- ธิดา คือ
** [[เจ้าประไพพรรณ สุขุมวาทย์]] (จาก หม่อมตระการ) - สมรสกับ "พลตำรวจเอกสุทัศน์ สุขุมวาท, อดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ"
** [[เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่]]
บรรทัด 84:
** เจ้าสมพงษ์
** เจ้าพิมผกา
* '''[[เจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่]]''' - อภิเษกสมรสกับ "เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่" มีราชบุตรบุตร-ธิดา ดังนี้
** [[เจ้าพงษ์กาวิล ณ เชียงใหม่]]
** เจ้าศิริกาวิล สิงหรา ณ อยุธยา
** [[เจ้ากอแก้ว ประกายกาวิล ณ เชียงใหม่]]
* '''[[เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่]]''' - อภิเษกสมรสกับ "[[เจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง ]]" ราชธิดาใน [[เจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง]] เจ้าฟ้าหลวง[[เชียงตุง]] องค์ที่ 40"ราชสมภพแด่ประสูติแต่เจ้านางบัวทิพย์หลวง มีราชบุตรบุตร-ธิดา ดังนี้
** เจ้ารัตนินดนัย
** เจ้าวิไลวรรณ
บรรทัด 101:
== พระกรณียกิจสำคัญ ==
{{เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร}}
เจ้าแก้วนวรัฐ ทรงเริ่มเข้ารับราชการเมื่อ [[พ.ศ. 2420]] ขณะมีพระชันษาได้ 15 ปี ในสมัยที่พระราชบิดาของพระองค์ท่าน คือ เจ้าอินทวิชยานนท์ได้เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 7 ซึ่งทรงมีสิทธิ์ในการปกครองอย่างเจ้าประเทศราชที่ต้องถวายต้นไม้เงินต้นไม้ทองเป็นเครื่องราชบรรณาการทุก 3 ปี
[[ไฟล์:คุ้มเจ้าแก้วนวรัฐ.jpg|thumb|300px|[[คุ้มเจดีย์กิ่ว ริมแม่น้ำปิง|คุ้มหลวง เจ้าแก้วนวรัฐ]]]]
ผลงานที่สำคัญ ได้แก่
 
* [[พ.ศ. 2420]] เจ้าอินทวิชยานนท์ โปรดเกล้าให้คุมราษฎรจังหวัดเชียงใหม่-ลำพูน ประมาณ 300 ครัวเรือน ขึ้นไปตั้งภูมิลำเนาที่เมือง[[เชียงแสน]]ซึ่งเป็นเมืองร้าง<ref name="อดีตลานนา">บุญเสริม ศาสตราภัย และสังคีต จันทนะโพธิ. (2520) '''อดีตลานนา''' กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ์</ref>
* [[พ.ศ. 2429]] เจ้าอินทวิชยานนท์ โปรดเกล้าให้เป็นผู้แทนพระองค์ควบคุม[[เครื่องราชบรรณาการ]]และ[[ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง]] ไปทูลเกล้าถวายแด่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ กรุงเทพฯ
* [[พ.ศ. 2433]] ทรงปราบกบฏพญาผาบ<ref name="อดีตลานนา"/> นายแคว้นสันทรายที่ก่อกบฏขึ้น โดยรวบรวมชาวบ้านติดอาวุธโดยว่าจะเข้ามาฆ่านายอากรชาวจีนและข้าราชการชาวไทย อันเนื่องมาจากไม่พอใจที่ราษฏรถูกขูดรีดเรื่องภาษีจนถึงขั้นทำร้ายราษฏร
* [[พ.ศ. 2445]] ทรงนำกำลังจับกุมผู้ร้ายปล้นที่ว่าการอำเภอหางดง และระงับเหตุ[[เงี้ยว]]เมืองฝางก่อจลาจล
* [[พ.ศ. 2453]] ทรงรั้งตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ และได้ทรงเสด็จราชดำเนินเดินทางไปทรงร่วมในการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพของ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
* [[พ.ศ. 2464]] ทรงราชดำริให้มีการขุดบ่อกักเก็บน้ำมันที่อำเภอฝาง และเป็นจุดเริ่มต้นของการถือกำเนิดบ่อน้ำมันฝาง<ref>[npdc.mod.go.th/เรองเลาเมอวนวาน/ความเปนมาของกจการนำมนฝาง.aspx ความเป็นมาของบ่อน้ำมันฝาง]</ref>
* [[พ.ศ. 2469]] เจ้าแก้วนวรัฐ ทรงนำเสด็จราชดำเนิน[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 7 ครั้งเสด็จพระราชดำเนินเลียบมณฑลฝ่ายเหนือ
* [[พ.ศ. 2476]] ทรงเป็นนายกองสร้างถนนหลายสาย เพื่อเชื่อมการคมนาคมอำเภอรอบนอกกับในเมือง ถนนสายสำคัญที่พระองค์ทรงท่านมีส่วนร่วม ได้แก่ ถนนสายสันทราย-ดอยสะเก็ด ปัจจุบันเรียก [[ถนนแก้วนวรัฐ]] ถนนสายขึ้นดอยสุเทพร่วมกับ[[ครูบาศรีวิชัย]] ซึ่งพระองค์ทรงท่านเป็นประธานฝ่ายคฤหัสถ์ และทรงเป็นผู้ขุดเป็นปฐมฤกษ์<ref name="อดีตลานนา"/> เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477
* [[พ.ศ. 2477]] ทรงสร้าง[[สะพานนวรัฐ]] ขึ้นเป็นสะพานไม้เพื่อเชื่อมสองฝั่งแม่น้ำปิง
 
=== การศาสนา ===
เจ้าแก้วนวรัฐ ทรงมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง พระองค์ท่านได้สนับสนุนให้เจ้าน้อยศุขเกษมเสด็จไปผนวชบวชในพระพุทธศาสนา และได้ทำนุทะนุบำรุงพระศาสนาอีกจำนวนมาก เช่น
* ทรงสร้างธรรมหาเวสสันดรและชาดกต่างๆ ถวายไว้ที่วัดหัวข่วง และทรงนิมนต์พระสงฆ์ไปแสดงพระธรรมเทศนาที่คุ้มหลวงทุกวันพระ
* [[พ.ศ. 2440]] โปรดเกล้าให้สร้างพระพุทธรูปถวายวัดเชียงยืน
* โปรดเกล้าให้บูรณะวัดโลกเหนือเวียง (วัดโลกโมฬี ในปัจจุบัน)
* โปรดเกล้าให้สร้างพระวิหารวัดเชตุพน
 
=== การได้รับพระราชทานนามสกุล ===
เจ้าแก้วนวรัฐ ทรงได้รับพระราชทานนามสกุล '''ณ เชียงใหม่''' ({{lang-roman|na Chiengmai}}) ซึ่งเป็นนามสกุลพระราชทาน ลำดับที่ 1,161 จาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อวันที่ [[5 เมษายน]] [[พ.ศ. 2457]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2457/D/10.PDF ประกาศพระราชทานนามสกุล ครั้งที่ ๑๔ (ลำดับที่ ๑๑๕๖ ถึงลำดับที่ ๑๑๘๒)]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 31 วันที่ 5 เมษายน 2457 หน้า 10</ref> โดยพระราชทานให้แก่ผู้สืบเชื้อสายจากบรรพบุรุษที่มีนิวาสถานตั้งอยู่ในที่แห่งนั้นเป็นเวลานานมาก มีผู้คนรู้จัก และนับถือโดยมาก โดย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพระบรมราชโองการห้ามไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้รับพระบรมราชานุญาตใช้คำว่า "ณ" นำหน้าสกุลเป็นอันขาด<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/395.PDF ประกาศ ห้ามมิให้ผู้ที่ไม่ได้รับพระราชทานนามสกุลใช้ "ณ" นำหน้านามสกุล], เล่ม ๓๒, ตอน ๐ ก, ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๓๙๕ </ref> ต่อมาภายหลังตระกูล ณ เชียงใหม่ ยังคงเป็นตระกูลที่มีบทบาทและได้รับการยกย่องจากระบบราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีบทบาทสำคัญในฐานะส่วนหนึ่งของพิธีการต่างๆ เพื่อรับรองนโบายการปกครองที่ดำเนินมานับแต่ [[พ.ศ. 2442]]<ref>[[ธเนศวร์ เจริญเมือง]]. '''คนเมือง'''. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์แสงศิลป์. 2544. หน้า 83</ref> อาทิ เป็นหนึ่งในสิบตระกูลที่ได้เข้าเฝ้าใน[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]<ref>http://www1.tv5.co.th/service/mod/heritage/king/rajapisek/index3.htm</ref> การเตรียมการรับเสด็จราชอาคันตุกะทุกๆ คราว<ref>หนังสือประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 61 พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรีเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) ณ เมรุวัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ หน้า (13)</ref> และการถวายความจงรักภักดีต่อราชวงศ์จักรี
 
== สถานที่อันเนื่องมาจากพระนาม ==
* '''[[สะพานนวรัฐ]]''' เดิมเป็นสะพานไม้สัก กระทั่งได้ก่อสร้างสะพานเหล็กทดแทนในปี พ.ศ. 2508 และให้ชื่อว่า "นวรัฐ" เพื่อเป็นการถวายพระเกียรติแด่เจ้าแก้วนวรัฐ
* '''[[ถนนแก้วนวรัฐ]]'''
* [[วัดศรีนวรัฐ]] บ้านทุ่งเสี้ยว ตำบลบ้านกลาง อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นวัดที่เจ้าแก้วนวรัฐ ทรงได้มีพระดำริให้บูรณะขึ้นใหม่ และอัญเชิญ พระพุทธรูปไม้สัก '''"พระเจ้าอกล้ง"''' กลับมาประดิษฐานที่วัดแห่งนี้<ref>[http://www.srinawaratt.com/index.php?option=com_content&view=article&id=1&Itemid=6 ประวัติวัดศรีนวรัฐ]</ref>
* [[โรงเรียนทุ่งเสี้ยว (นวรัฐ)]] เป็นโรงเรียนที่เจ้าแก้วนวรัฐ บริจาคที่ดินเพื่อสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2466