ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศตองงา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut ย้ายหน้า ประเทศตองงา ไปยัง ประเทศตองกา ทับหน้าเปลี่ยนทาง: ยึดตามรายชื่อประเทศของรา...
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ตองงา" → "ตองกา" ด้วยสจห.
บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล ประเทศ
| native_name = {{lang|en|Kingdom of Tonga}} <small>{{en icon}}</small><br />{{lang|to|Pule{{okina}}anga Fakatu{{okina}}i {{okina}}o Tonga}} <small>{{to icon}}</small>
| conventional_long_name = ราชอาณาจักรตองงาตองกา
| common_name = ตองงาตองกา
| image_flag = Flag of Tonga.svg
| image_coat = Coat_of_arms_of_Tonga.svg
| symbol_type = ตราแผ่นดิน
| national_motto = Ko e {{okina}}Otua mo Tonga ko hoku tofi{{okina}}a <br /> (พระเจ้าและตองงาตองกาคือมรดกของข้าพเจ้า)
| image_map = LocationTonga.png
| national_anthem = ''[[โกเอฟาซีโอเอตูอีโอเอโอตูโตงา]]'' <br /> (เพลงของกษัตริย์แห่งหมู่เกาะตองงาตองกา)
| other_symbol_type = [[ธงพระอิสริยยศ|ธงพระอิสริยยศพระมหากษัตริย์ตองงาตองกา]]
| other_symbol = [[ไฟล์:Royal_Standard_of_Tonga.svg|85x85px|ธงพระอิสริยยศพระมหากษัตริย์ตองงาตองกา]]
| official_languages = [[ภาษาตองงาตองกา]]และ[[ภาษาอังกฤษ]]
| languages_type =
| languages =
บรรทัด 19:
| largest_city = [[นูกูอาโลฟา]]
| government_type = [[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]
| leader_title1 = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงาตองกา|พระมหากษัตริย์]]
| leader_title2 = [[รายนามนายกรัฐมนตรีตองงาตองกา|นายกรัฐมนตรี]]
| leader_name1 = [[สมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6 แห่งตองงาตองกา]]
| leader_name2 = [[อากีลีซี โปฮีวา]]
| area_rank = 198
บรรทัด 65:
| footnotes =
}}
'''ตองงาตองกา''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]และ{{lang-to|Tonga}}) มีชื่อทางการคือ '''ราชอาณาจักรตองงาตองกา''' ({{lang-en|Kingdom of Tonga}}; {{lang-to|Puleʻanga Fakatuʻi ʻo Tonga}} ''ปูเลอางา ฟากาตูอีโอโตงา'') เป็นประเทศ[[หมู่เกาะ]]ใน[[พอลินีเชีย|ภูมิภาคพอลินีเชีย]] ตั้งอยู่ใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ระหว่าง[[ประเทศนิวซีแลนด์]]กับ[[รัฐฮาวาย]]ของ[[สหรัฐอเมริกา]] โดย[[เขตอำนาจแห่งชาติของรัฐ|ทะเลอาณาเขต]]ทางตะวันตกติดกับ[[ประเทศฟีจี]] ส่วนทางตะวันออกติดกับ[[หมู่เกาะคุก]] [[นีวเว]] และ[[อเมริกันซามัว]] ในขณะที่ทางทิศเหนือติดกับ[[หมู่เกาะวาลิสและฟูตูนา]] [[ประเทศซามัว]] และ[[อเมริกันซามัว]] ชื่อประเทศใน[[ภาษาตองงาตองกา]]แปลว่าทิศใต้ นอกจากนี้ประเทศนี้ได้รับฉายาว่า '''หมู่เกาะมิตรภาพ''' จากกัปตัน[[เจมส์ คุก]]<ref name="sat">{{cite web |url=http://www.tongasat.com/tonga/|title=About Tonga|publisher=Tongasat|accessdate=29 January 2014}}</ref>
 
ประเทศตองงาตองกาเป็นประเทศขนาดเล็กมีเนื้อที่เพียง 747 ตารางกิโลเมตร นับเป็นอันดับที่ 189 ของโลก<ref name="area">{{Citation
| url = http://unstats.un.org/unsd/demographic/products/dyb/dyb2007/Table03.pdf
| format = pdf
บรรทัด 73:
| publisher = United Nations Statistics Division
| year = 2007
| accessdate = 29 January 2014}}</ref> หมู่เกาะตองงาตองกาประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่ประมาณ 169 เกาะ โดยมีเพียง 36 เกาะเท่านั้นที่มีผู้อยู่อาศัย<ref name="islands">{{cite web |url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/fields/2113.html#tn|title=The World Factbook|publisher=CIA|accessdate=29 January 2014}}</ref> เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือ[[เกาะ]][[โตงาตาปู]] ซึ่งเป็นที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองคือ[[นูกูอาโลฟา]] เกาะส่วนใหญ่ของตองงาตองกาเป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของปะการัง<ref>{{cite web |url=http://www.princeton.edu/~achaney/tmve/wiki100k/docs/Geography_of_Tonga.html|title=Geography of Tonga|publisher=princeton|accessdate=29 January 2014}}</ref> ประชากรของตองงาตองกามีทั้งสิ้น 103,036 คน<ref name="census"/> นับเป็นอันดับที่ 192 ของโลก<ref>{{cite web |url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/rankorder/2119rank.html|title=COUNTRY COMPARISON :: POPULATION|publisher=CIA|accessdate=29 January 2014}}</ref>
 
สันนิษฐานว่ามนุษย์เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาตองกาครั้งแรกเมื่อ 826 ± 8 ปีก่อนคริสตกาล<ref name="Uranium">{{cite web |url=http://prehist.org/news/62/Uranium+dating+shows+Polynesians+came+to+Tonga+in+826+BC/|title=Uranium dating shows Polynesians came to Tonga in 826 BC|publisher=Carina Boom|accessdate=29 January 2014}}</ref> ตองงาตองกาเริ่มก่อตั้งอาณาจักรเป็นของตนเองในปี ค.ศ. 950 ชื่อว่า[[จักรวรรดิตูอีโตงา]] ซึ่งปกครองโดยราชวงศ์[[ตูอีโตงา]] [[ตูอิฮาอะตากาเลาอา]] และ[[ตูอิกาโนกูโปลู]] ต่อมาได้เกิดสงครามกลางเมือง ในท้ายที่สุดตูอิกาโนกูโปลู[[พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1|เตาฟาอาเฮา]]ได้รับชัยชนะจึงรวบรวมดินแดนทั้งหมดก่อตั้ง ''อาณาจักรพอลินีเชีย'' ตองงาตองกาเป็นเพียงไม่กี่ประเทศในโลกที่สามารถปกป้องตนเองจากการตกเป็นดินแดนอาณานิคมของชาติตะวันตก<ref>{{cite web |url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-pacific-16197014|title=Tonga profile|publisher=BBC News Asia|accessdate=29 January 2014}}</ref> ในปี ค.ศ. 2010 ประเทศตองงาตองกาจัด[[การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศตองงาตองกา พ.ศ. 2553|การเลือกตั้งทั่วไป]] การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่สมาชิกรัฐสภาส่วนใหญ่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชน<ref name="democrat">{{cite web |url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-pacific-16197014|title=Strong showing for Tonga democrats in election|publisher=BBC News Asia-Pacific|accessdate=29 January 2014}}</ref>
 
== ชื่อประเทศ ==
ภาษาหลายภาษาของกลุ่มพอลินีเชียและ[[ภาษาตองงาตองกา]]เอง ได้ให้ความหมายคำว่า ''โตงา'' ({{lang-to|Tonga}}) ไว้ว่า "ใต้"<ref>{{cite web |url=http://books.google.co.th/books?id=B5MMaa7n0BkC&pg=PA402&dq=tonga+mean+south&hl=th&sa=X&ei=pk3pUvrqF8TsiAeTioDwCw&ved=0CC0Q6AEwAA#v=onepage&q=tonga%20mean%20south&f=false|title=Frommer's South Pacific|author=Bill Goodwin|accessdate=30 January 2014}}</ref> ซึ่งสัมพันธ์กับตำแหน่งที่ตั้งของประเทศตองงาตองกาที่เป็นหมู่เกาะตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของภูมิภาคพอลินีเชียตอนกลาง ในภาษาตองงาตองกาชื่อประเทศถอดเสียงเป็น[[สัทอักษร]]ได้ว่า {{IPA|ˈtoŋa|}}<ref>Churchward, C.M. (1985) ''Tongan grammar'', Oxford University Press, ISBN 0-908717-05-9</ref> ส่วนใน[[ภาษาอังกฤษ]]จะออกเสียงชื่อประเทศนี้ว่า {{IPAc-en|ˈ|t|ɒ|ŋ|ə}} หรือ {{IPAc-en|ˈ|t|ɒ|ŋ|ɡ|ə}} นอกจากนี้ชื่อประเทศตองงาตองกายังมีความหมายคล้ายคลึงกับคำว่า ''โกนา'' ({{lang-haw|Kona}}) ใน[[ภาษาฮาวาย]]อีกด้วย<ref>{{cite web |url=http://pvs.kcc.hawaii.edu/pdfs/Hawaiian_astronomy_I.pdf|title=HAWAIIAN ASTRONOMICAL CONCEPTS|publisher=MAUD W. MAKEMSON|accessdate=30 January 2014}}</ref>
 
== ประวัติศาสตร์ ==
บรรทัด 84:
=== วัฒนธรรมแลพีตา ===
[[ไฟล์:PortVilaLapita.jpg|thumbnail|200px|เครื่องปั้นดินเผาแลพีตา]]
[[วัฒนธรรมแลพีตา|ชาวแลพีตา]] กลุ่มคนที่พูดภาษาใน[[ตระกูลภาษาออสโตรนีเชียน]]เป็นกลุ่มแรกที่เข้ามาอยู่อาศัยในตองงาตองกา มีความเกี่ยวเนื่องกับกลุ่มคนที่อาศัยอยู่ทางตะวันออกของ[[ประเทศปาปัวนิวกินี]]และ[[หมู่เกาะโซโลมอน]]ในปัจจุบัน<ref name="kirch">Patrick Vinton Kirch, ''The Lapita Peoples: Ancestors of the Oceanic World''</ref> ช่วงเวลาที่ชาวแลพีตาเข้ามาอาศัยในหมู่เกาะตองงาตองกาเป็นครั้งแรกยังเป็นข้อถกเถียงในปัจจุบัน โดยในระยะแรกนั้นมีการสันนิษฐานว่ากลุ่มคนที่เชื่อว่าเข้ามาอยู่อาศัยในดินแดนประเทศตองงาตองกาปัจจุบันเดินทางถึงหมู่เกาะตองงาตองกาในช่วงเวลาประมาณ 1,500 - 1,000 ปีก่อนคริสตกาล<ref name="kirch"/> ในระยะเวลาต่อมา ได้มีการนำเครื่องมือในสมัยนั้นผ่าน[[การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี]] ซึ่งช่วยกำหนดได้ว่าชาวแลพีตาเดินทางเข้ามาอยู่ในตองงาตองกาในปี 826 ± 8 ก่อนคริสตกาล<ref name="Uranium"/> เมื่อชาวแลพีตาเดินทางมาถึงหมู่เกาะตองงาตองกาแล้ว ได้ลงหลักปักฐานในนูกูเลกา บนเกาะ[[โตงาตาปู]]เป็นที่แรก<ref name="Uranium"/> และได้ลงหลักปักฐานใน[[ฮาอะไป]]เป็นที่ต่อมา<ref name="periphery">Burley, Dickinson, Barton, & Shutler Jr., ''Lapita on the Periphery: New data on old problems in the Kingdom of Tonga''</ref> ชาวแลพีตาใช้ชีวิตโดยพึ่งพาทะเลเป็นส่วนใหญ่ อาหารของชาวแลพีตาจึงเน้นอาหารทะเลเป็นหลัก ยกตัวอย่างเช่น [[วงศ์ปลานกแก้ว|ปลานกแก้ว]] [[วงศ์ปลานกขุนทอง|ปลานกขุนทอง]] [[เต่า]] [[ปลาไหล]] เป็นต้น<ref name="kirch" /> นอกจากนี้ยังมีการทำเกษตรกรรมและเลี้ยงสัตว์อีกด้วย<ref name="kirch" /> หลักฐานที่สำคัญทางโบราณคดีในช่วงเวลานี้คือเครื่องปั้นดินเผาแลพีตา ซึ่งเป็นเครื่องปั้นดินเผาที่ทำมาจากเปลือกหอยและหิน<ref>{{cite web |url=http://go4biodiv.org/wp-content/uploads/2011/Panels/Tonga_low.pdf|title=Lapita Pottery Tonga|publisher=go4biodiv.org|accessdate=30 January 2014}}</ref> โดยพบมากในบริเวณเขตการปกครอง[[ฮาอะไป]]ในปัจจุบัน<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/tentativelists/5168/|title=Lapita Pottery Archaeological Sites (A National Serial Site for consideration as the Kingdom of Tonga’s contribution to a transnational serial site listing)|publisher=UNESCO|accessdate=30 January 2014}}</ref>
 
=== จักรวรรดิตูอีโตงา ===
บรรทัด 90:
ประมาณ [[ค.ศ. 950]] [[พระเจ้าอะโฮเออิตู|อะโฮเออิตู]]ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น[[ตูอีโตงา]]แห่ง[[จักรวรรดิตูอีโตงา]]พระองค์แรก<ref name="tu'i tonga">{{cite web|url=http://palaceoffice.gov.to/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=69&Itemid=82|title=Tu'i Tonga|publisher=Palace Office2013, Tonga|date=30 January 2014}}</ref> จักรวรรดิตูอีโตงาเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ในรัชสมัย[[พระเจ้าโมโม]] [[พระเจ้าตูอิตาตูอิ]] และ[[พระเจ้าตาลาตามา]] ซึ่งพระมหากษัตริย์ทั้ง 3 พระองค์ได้ขยายอาณาเขตของจักรวรรดิจนมีอาณาเขตครอบคลุมบางส่วนของ[[ฟีจี]] [[ซามัว]] [[โทเคอเลา]] [[นีวเว]] และ[[หมู่เกาะคุก]]<ref name="tu'i tonga"/> บรรดาดินแดนในการปกครองเหล่านี้จะส่งบรรณาการที่เรียกว่า ''อีนาซี'' ซึ่งต้องส่งมาถวาย[[ตูอีโตงา]]ที่เมือง[[มูอา]]อันเป็นนครหลวงของจักรวรรดิทุกปีในฤดูเก็บเกี่ยว<ref> St. Cartmail, Keith (1997). The art of Tonga. Honolulu, Hawai'i: University of Hawai'i Press. p. 39. ISBN 0-8248-1972-1.</ref> อำนาจของจักรวรรดิตูอีโตงาเริ่มตกต่ำลงหลังจากเกิดเหตุลอบปลงพระชนม์ตูอีโตงาหลายพระองค์<ref>{{cite journal|url=http://www.jstor.org/pss/2842790|journal=The Journal of the Anthropological Institute of Great Britain and Ireland|title=Note Upon the Natives of Savage Island, or Niue|last=Thomson|first=Basil|volume=31|date=January 1901|page=137|publisher=Royal Anthropological Institute of Great Britain and Ireland}}</ref> ส่งผลให้ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 [[พระเจ้าเกาอูลูโฟนูอา]]ตูอีโตงาพระองค์ที่ 24 ตั้งพระอนุชาของพระองค์คือ[[พระเจ้าโมอูงาโมตูอา|เจ้าชายโมอูงาโมตูอา]]ขึ้นเป็น[[ตูอิฮาอะตากาเลาอา]]พระองค์แรก เพื่อช่วยเหลือตูอีโตงาในการปกครองจักรวรรดิ<ref>{{cite web|url=http://palaceoffice.gov.to/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=67&Itemid=80|title=Tu'i Ha'atakalaua|publisher=Palace Office2013, Tonga|date=30 January 2014}}</ref> และอีก 2 ศตวรรษต่อมาได้มีการตั้งราชวงศ์[[ตูอิกาโนกูโปลู]]ขึ้นเพื่อช่วยเหลืออีก 2 ราชวงศ์ในการปกครองจักรวรรดิ<ref name="Kanokupolu">{{cite web|url=http://palaceoffice.gov.to/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=68&Itemid=81|title=Tu'i Kanokupolu|publisher=Palace Office2013, Tonga|date=30 January 2014}}</ref> ซึ่งต่อมาตูอิกาโนกูโปลูสามารถก้าวขึ้นมาเป็นราชวงศ์ที่มีอิทธิพลแทนที่ตูอิฮาอะตากาเลาอาได้<ref name="Kanokupolu"/>
[[ไฟล์:Captainjamescookportrait.jpg|thumbnail|150px|กัปตัน[[เจมส์ คุก]]]]
ในยุคจักรวรรดิตูอีโตงานี้ มีนักสำรวจชาวยุโรปเดินทางเข้ามาหลายกลุ่ม โดยนักสำรวจที่เดินทางเข้ามาเป็นกลุ่มแรกนั้นเป็นนักสำรวจ[[ชาวดัตช์]]ชื่อว่า[[ยาโกบ เลอ แมเรอ]] และ[[วิลเลิม สเคาเติน]] ซึ่งเดินทางมาถึงจักรวรรดิตูอีโตงาในปี ค.ศ. 1616<ref name="mission">Charles F. Urbanowicz, ''[http://www.csuchico.edu/~curbanowicz/MotivesAndMethods.pdf Motives and Methods: Missionaries in Tonga In the Early 19th Century]</ref> ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่จักรวรรดิเกิดสงครามกลางเมือง<ref name="James"> James B. Minahan, ''Ethnic Groups of South Asia and the Pacific: An Encyclopedia'' (Santa Barbara, Calif. : ABC-CLIO)</ref> โดยเข้ามาสำรวจในบริเวณ[[เกาะ]][[นีอูอาโตปูตาปู]]<ref name="expo">{{cite web|url=http://www.ciaworldfactbook.us/oceania/tonga.html|title=Tonga|publisher=CIA World Factbook - The best country factbook available online|date=30 January 2014}}</ref> ในปี ค.ศ. 1643 [[อาเบิล ตัสมัน]] ได้เดินทางเข้ามาในตองงาตองกาในบริเวณ[[เกาะ]][[โตงาตาปู]]และ[[ฮาอะไป]]<ref name="expo"/> แต่การเดินทางเข้ามาทั้ง 2 ครั้งของชาวยุโรปนี้ ยังไม่มีการติดต่อกับชาวพื้นเมืองอย่างเป็นทางการมากเท่าใดนัก<ref name="James"/> การติดต่อกับชาวพื้นเมืองอย่างเป็นทางการของชาวยุโรปและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในจักรวรรดิคือการเดินทางเข้ามาสำรวจของกัปตัน[[เจมส์ คุก]] ในปี ค.ศ. 1773 1774 และ 1777<ref name="James"/> ซึ่งเจมส์ คุกได้ตั้งชื่อหมู่เกาะนี้ว่า "หมู่เกาะมิตรภาพ" (Friendly Islands) โดยชื่อนี้มาจากความประทับใจของเจมส์ คุก ต่อลักษณะนิสัยของชาวพื้นเมือง<ref name="James"/> หลังจากนั้น[[อเลสซานโดร มาลาสปินา]]เข้ามาสำรวจตองงาตองกาในปี ค.ศ. 1793<ref name="James"/> ในปี ค.ศ. 1797 หลังจากการเข้ามาของอเลสซานโดร มาลาสปินาได้มีมิชชันนารีเข้ามาเผยแผ่[[ศาสนาคริสต์]]ให้แก่ชาวพื้นเมือง โดยคณะแรกที่เข้ามานั้นคือ London Missionary Society แต่มิชชันนารีกลุ่มนี้ไม่ประสบความสำเร็จมากนักในการเผยแผ่ศาสนา<ref name="mission"/> อย่างไรก็ตามมิชชันนารีในคณะเวสเลยันที่เข้ามาในตองงาตองกาปี ค.ศ. 1822 ประสบความสำเร็จในการเผยแผ่ศาสนาและเป็นส่วนสำคัญในการช่วยให้[[พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1|เตาฟาอาเฮา]]ได้รับชัยชนะในสงครามกลางเมือง<ref name="mission"/>
 
ในช่วงปลายของจักรวรรดิเกิดสงครามกลางเมืองระหว่างผู้นำตามเกาะต่าง ๆ ระหว่างกลุ่มที่นับถือศาสนาพื้นเมืองกับกลุ่มที่นับถือศาสนาคริสต์<ref name="common">{{cite web|url=http://thecommonwealth.org/our-member-countries/tonga/history|title=Tonga : History|publisher=The Commonwealth|date=31 January 2014}}</ref> สงครามกลางเมืองครั้งนี้มีสาเหตุมาจากการลอบปลงพระชนม์[[ตูอิกาโนกูโปลู]][[พระเจ้าตูกูอาโฮ]]<ref>Ames J. Fox and Clifford Sather, Origins, Ancestry and Alliance: Explorations in Austronesian Ethnography (Canberra : ANU E Press, 2006)</ref> ในท้ายที่สุดตูอิกาโนกูโปลู[[พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1|เตาฟาอาเฮา]] ซึ่งเป็นกลุ่มที่นับถือศาสนาคริสต์ได้รับชัยชนะและรวมดินแดนที่แตกแยกเข้าเป็นอาณาจักรเดียวกันในปี ค.ศ. 1845<ref name="common"/>
 
=== หลังการรวมชาติตองงาตองกา ===
[[ไฟล์:Semi-formal outdoor portrait of King George of Tonga, 86 years old, in front of the palace at Neiafu (cleaned).jpg|thumbnail|200px|left|พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1]]
หลังจากที่[[พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1]] ได้รับชัยชนะจากสงครามกลางเมืองตองงาตองกาแล้ว พระองค์ได้ตั้งเมือง[[ปาไง]]ใน[[ฮาอะไป]] ซึ่งเป็นเขตอำนาจเดิมของพระองค์เป็นเมืองหลวงในปี ค.ศ. 1845<ref name="tupou">{{cite web|url=http://www.royalark.net/Tonga/tupou8.htm|title=The Tupou Dynasty|publisher=royalark|date=3 February 2014}}</ref> หลังจากนั้นได้ย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่[[ลิฟูกา]] ในท้ายที่สุดได้ย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่เมือง[[นูกูอาโลฟา]]ซึ่งเป็นเมืองหลวงปัจจุบันในปี ค.ศ. 1851<ref name="tupou"/> ในรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 มีการประกาศใช้[[ประมวลกฎหมายวาวาอู]] ในปี ค.ศ. 1839 ซึ่งเกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานและลดบทบาทเจ้านายในท้องถิ่นต่าง ๆ โดยประมวลกฎหมายฉบับนี้เป็นพื้นฐานที่สำคัญของ[[รัฐธรรมนูญตองงาตองกา]]ที่ประกาศใช้ในปี ค.ศ. 1875<ref name="sione">Sione Latukefu, Church and State in Tonga: The Influence of The Wesleyan Methodist Missionaries in Political Development of Tonga, 1826 - 1875 (Canberra: ANU press, 1967)</ref> การประชุมรัฐสภาเป็นครั้งแรกก็เกิดขึ้นในรัชสมัยของพระองค์ โดยเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1862<ref name="tupou"/> นอกจากนี้มีการประกาศความสัมพันธ์กับ[[สหราชอาณาจักร]] [[เยอรมนี]]และ[[สหรัฐอเมริกา]] ประเทศเหล่านี้ต่างรับรองความเป็นเอกราชของตองงาตองกา<ref>{{cite web|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/599148/Tonga/54091/History#ref514057|title=Tonga|publisher=britannica|date=3 February 2014}}</ref> การเปลี่ยนแปลงหลายอย่างที่เกิดขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 นั้นเหล่ามิชชันนารีล้วนมีส่วนสำคัญในการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเมืองการปกครองและในรัชสมัยนี้ศาสนาคริสต์ก็แผ่ได้มากขึ้นจากการอุปถัมภ์ของพระมหากษัตริย์<ref name="sione"/>
ในรัชกาลของ[[พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2]] ได้ลงนามใน[[สนธิสัญญามิตรภาพ (1900)|สนธิสัญญามิตรภาพ]] (Treaty of Friendship) กับ[[สหราชอาณาจักร]] ในวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1900<ref name="daly"> Martin Daly, ''Tonga: A New Bibliography'' (Honolulu : University of Hawaiʻi Press, 2009)</ref> ส่งผลให้ตองงาตองกาเป็นรัฐภายใต้การอารักขาของสหราชอาณาจักร โดยสหราชอาณาจักรจะควบคุมทางด้านการต่างประเทศ รวมไปถึง[[สิทธิสภาพนอกอาณาเขต]]เท่านั้น ส่วนกิจการภายในอื่น ๆ รัฐบาลตองงาตองกายังคงมีสิทธิบริหาร<ref name="britain">{{cite web|url=https://ojs.lib.byu.edu/spc/index.php/PacificStudies/article/viewFile/9192/8841|title=THE TONGA MA‘A TONGA KAUTAHA: A WATERSHED IN BRITISH-TONGAN RELATIONS|publisher=Penny Lavaka|date=3 February 2014}}</ref> อย่างไรก็ตามพบว่ารัฐบาลอังกฤษพยายามที่จะแทรกแซงกิจการภายในของตองงาตองกาอยู่เสมอ<ref name="britain"/> เหตุผลที่ต้องลงนามในสนธิสัญญานี้เนื่องจากรัฐบาลตองงาตองกาเกรงว่าชาวต่างชาติอาจรุกรานและยึดตองงาตองกาเป็นอาณานิคม<ref name="daly"/> ตองงาตองกาเริ่มได้อำนาจการปกครองส่วนใหญ่คืนใน ค.ศ. 1958<ref name="profile">{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-pacific-16199671|title=Tonga profile|publisher=BBC Asia-Pacific|date=3 February 2014}}</ref> และได้เอกราชโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1970<ref>{{cite web|url=http://www.nationsonline.org/oneworld/tonga.htm|title=Kingdom of Tonga|publisher=nationsonline|date=3 February 2014}}</ref>
 
=== การเรียกร้องประชาธิปไตย ===
[[ไฟล์:Startfires.jpg|thumbnail||200px|การจลาจลในกรุงนูกูอาโลฟา ค.ศ. 2006]]
หลังจากตองงาตองกาพ้นจากการอารักขาของ[[สหราชอาณาจักร]]แล้ว ตองงาตองกาได้ปกครองตนเองโดยสมบูรณ์ภายใต้การนำของ[[สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4]] ในปี ค.ศ. 1992 มีการก่อตั้งกลุ่มนิยมประชาธิปไตยขึ้นในตองงาตองกา<ref name="profile"/> โดยกลุ่มนิยมประชาธิปไตยได้พยายามเรียกร้องให้มีตัวแทนของประชาชนในรัฐสภามากขึ้น ซึ่งมีเพียง 9 คนเท่านั้น ส่วนตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมักมาจากขุนนางและชนชั้นสูงที่มีความสนิทสนมกับราชวงศ์<ref>{{cite web|url=http://www.jstor.org/discover/10.2307/2759419?uid=2&uid=4&sid=21103448914923|title=Tonga's Pro-Democracy Movement|publisher=JSTOR|date=3 February 2014}}</ref> ความไม่พอใจในการปกครองมีมากขึ้นจากการที่รัฐบาลเชื้อพระวงศ์และขุนนางดำเนินการผิดพลาดหลายประการ ทั้งการลงทุนที่ผิดพลาดจนสูญเสียงบประมาณ 26 ล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref name="profile"/> การพิจารณาให้ตองงาตองกาเป็นสถานที่กำจัดกากนิวเคลียร์<ref>[http://web.archive.org/web/20071013151423/http://michaelfield.org/tonga3.htm Tonga's king tricked by Korean sea water to natural gas scam]. michaelfield.org (December 1997).</ref> การขายหนังสือเดินทางตองงาตองกาแก่ชาวต่างประเทศ<ref>{{Cite web|url=http://www.frommers.com/destinations/tonga/3039020044.html |title=Tonga : In Depth : History |publisher=Frommers.com |accessdate=27 June 2010}}</ref> การอนุญาตขึ้นทะเบียนเรือต่างประเทศ<ref>{{Cite web|url=http://www.smh.com.au/articles/2003/01/13/1041990234408.html |title=The ships that died of shame |publisher=smh.com.au |date=14 January 2003 |accessdate=27 June 2010}}</ref> การถือสัญญาเช่าเครื่องบิน[[โบอิง 757]] ระยะยาวโดยไม่ได้ใช้งาน ซึ่งนำไปสู่การล้มละลายของสายการบิน[[รอยัลตองงาตองกาแอร์ไลน์]]<ref>{{Cite web|author=iSite Interactive Limited |url=http://web.archive.org/web/20071012065408/http://www.islandsbusiness.com/islands_business/index_dynamic/containerNameToReplace=MiddleMiddle/focusModuleID=3896/overideSkinName=issueArticle-full.tpl |title=No Govt Support Blamed for Airline Collapse |publisher=Islands Business|accessdate=27 June 2010}}</ref> รวมไปถึงการเพิ่มพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์และการจำกัดเสรีภาพของสื่อมวลชน<ref name="profile"/>
 
จากความไม่พอใจในการบริหารงานของรัฐบาลจึงเกิดการประท้วงเรียกร้องประชาธิปไตยทั่วกรุง[[นูกูอาโลฟา]]ในปี ค.ศ. 2005 เพื่อเรียกร้องการปฏิรูปการปกครองให้เป็นระบอบประชาธิปไตย<ref>{{Cite web|url=http://tvnz.co.nz/view/page/506420/607689|title=No resolution in sight in Tonga|publisher=tvnz|date= August 30, 2005|accessdate=3 February 2014}}</ref> การประท้วงในครั้งนี้นำไปสู่การลาออกของ[[เจ้าชายอูลูกาลาลา ลาวากา อาตา]]นายกรัฐมนตรี และ ดร. [[เฟเลติ เซเวเล]] ขึ้นมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทน ซึ่งถือได้ว่าเป็นนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนแรกของตองงาตองกา<ref name="profile"/> อย่างไรก็ตามการสิ้นพระชนม์ของ[[เจ้าชายตูอิเปเลหะเก (อูลูวาลู)|เจ้าชายตูอิเปเลหะเก]]จากอุบัติเหตุทางรถยนต์ทำให้กระบวนการปฏิรูปการปกครองล่าช้ายิ่งขึ้น<ref>{{Cite web|url=http://www.radionz.co.nz/international/pacific-news/163219/tonga's-prince-tu'ipelehake-killed-in-car-accident|title=Tonga's Prince Tu'ipelehake killed in car accident|publisher=Radio New Zealand International |accessdate=3 February 2014}}</ref> ความล่าช้าในการปฏิรูปการปกครองก่อให้เกิด[[การจลาจลในนูกูอาโลฟา พ.ศ. 2549|การจลาจลทั่วกรุงนูกูอาโลฟา]]ในปี ค.ศ. 2006 ซึ่งก่อให้เกิดความสูญเสียชีวิตและเศรษฐกิจ<ref>{{Cite web|url=http://web.archive.org/web/20070204104314/http://www.matangitonga.to/article/tonganews/crime/riot161106.shtml|title=Rioting crowd leaves leaves trail of wreckage in Nuku'alofa|publisher=Matangi Tonga Online|accessdate=3 February 2014}}</ref> ในปี ค.ศ. 2008 [[สมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5]] ทรงสละพระราชอำนาจของพระองค์ส่วนใหญ่และเริ่มการปฏิรูปการปกครอง<ref name="profile"/> โดยปี ค.ศ. 2010 เป็นปีแรกที่มี[[การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศตองงาตองกา พ.ศ. 2553|การเลือกตั้งทั่วไป]]ที่สมาชิกรัฐสภาส่วนใหญ่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชน<ref name="democrat"/>
 
== การเมืองการปกครอง ==
ตองงาตองกามีรูปแบบรัฐเป็น[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]<ref>{{cite web|url=http://www.state.gov/documents/organization/160106.pdf|title=TONGA
| publisher = state.gov|date=4 February 2014}}</ref><ref name="king">{{cite web|url=http://www.commonwealthgovernance.org/countries/pacific/tonga/constitution/|title=Constitution of Tonga
| publisher = Commonwealth Governance|date=4 February 2014}}</ref> โดยใช้ระบอบ[[ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน]] มี[[รัฐสภา]] [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงาตองกา|พระมหากษัตริย์]]เป็นประมุขแห่งรัฐ มีพระราชอำนาจทางพิธีการ ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีที่ได้รับการสนับสนุนจากเสียงส่วนใหญ่ในรัฐสภา และมีพระราชอำนาจอื่นตามรัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีเป็น[[หัวหน้ารัฐบาล]]
 
=== รัฐธรรมนูญ ===
[[ไฟล์:Tonga Royal Palace Oct 08.jpg|thumbnail|250px|พระราชวังตองงาตองกา ที่ประทับของพระมหากษัตริย์]]
 
รัฐธรรมนูญตองงาตองกาฉบับแรกใช้บังคับในวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1875<ref>{{cite web|url=http://www.wipo.int/wipolex/en/details.jsp?id=5409|title=Act of Constitution of Tonga|publisher=wipo|date=4 February 2014}}</ref> รัฐธรรมนูญตองงาตองกาประกอบไปด้วยเนื้อหา 3 ส่วน คือ สิทธิขั้นพื้นฐาน รูปแบบของรัฐบาล และที่ดิน<ref name="act">{{cite web|url=http://legislation.to/Tonga/DATA/PRIN/1988-002/ActofConstitutionofTonga.pdf|title=Act of Constitution of Tonga|publisher=legislation|date=4 February 2014}}</ref> มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญหลายครั้ง การแก้ไขเพิ่มเติมครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 2010<ref>{{cite web|url=http://crownlaw.gov.to/cms/images/LEGISLATION/AMENDING/2010/2010-0014/ActofConsitutionofTongaAmendmentAct2010.pdf|title=ACT OF CONSTITUTION OF TONGA (AMENDMENT) ACT 2010 |publisher=crownlaw|date=4 February 2014}}</ref> สาระสำคัญของการแก้ไขเพิ่มเติมในครั้งนี้ คือ ยกเลิกสมาชิกรัฐสภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และให้ผู้แทนราษฎรเป็นสมาชิกส่วนใหญ่ของรัฐสภา<ref name="enact">{{cite web|url=http://www.radionz.co.nz/international/pacific-news/189770/tonga-parliament-enacts-political-reforms|title=Tonga Parliament enacts political reforms|publisher=Radio New Zealand International|date=4 February 2014}}</ref> การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญของตองงาตองกาสามารถทำได้โดยการผ่านการพิจารณาของรัฐสภา 3 วาระ หลังจากนั้นถวายให้พระมหากษัตริย์ลงพระปรมาภิไธย การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญต้องไม่ส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน การสืบราชบัลลังก์ และที่ดินมรดกของชนชั้นขุนนาง<ref name="act"/>
 
=== สถาบันพระมหากษัตริย์ ===
พระมหากษัตริย์มีสถานะเป็นประมุขแห่งรัฐ<ref name="king"/> และฮาอูโอเอ โฟนูอา (ประมุขสูงสุดของหัวหน้าชนเผ่าพื้นเมืองของตองงาตองกา)<ref name="ICT">{{cite web|url=http://www.mic.gov.to/government/got/4049-head-of-state-his-majesty-king-tupou-vi|title=AHead of State - His Majesty King Tupou VI|publisher=Ministry of Information and Communications|date=4 February 2014}}</ref> พระมหากษัตริย์ตองงาตองกา[[ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ตองงาตองกา|สืบราชสมบัติ]]ผ่านทางสายพระโลหิต<ref>Purna Sen, Universal Periodic Review: Lessons, Hopes and Expectations (London : Commonwealth Secretariat, 2011)</ref> พระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบันคือ[[สมเด็จพระราชาธิบดีตูโปอูที่ 6|สมเด็จพระราชาธิบดีอะโฮเออิตู อูนูอากีโอโตงา ตูกูอาโฮ ตูโปอูที่ 6]] ส่วนมกุฎราชกุมารพระองค์ปัจจุบันคือ [[เจ้าชายตูโปอูโตอา อูลูกาลาลา|เจ้าชายซีอาโอซี มานูมาตาโอโง อาลาอีวาฮามามาโอ อาโฮเออีตู กอนสตันติน ตูกูอาโฮ]] พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ที่สำคัญซึ่งพระองค์ใช้ได้เองนั้นได้แก่ การดำรงสถานะเป็นจอมทัพของประเทศ การเรียกประชุมรัฐสภา การยุบสภาผู้แทนราษฎร การแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี (จากการเลือกของรัฐสภา) การแต่งตั้งประธานรัฐสภา (ตามคำแนะนำของรัฐสภา) การแต่งตั้งผู้ว่าการเขตการปกครอง[[ฮาอะไป]]และ[[วาวาอู]] (ตามคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี) รวมถึงการเจริญสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ<ref name="ICT"/>
 
=== ฝ่ายนิติบัญญัติ ===
[[ไฟล์:Parliament Nuku'alofa.jpg|thumbnail|250px|left|อาคารรัฐสภาในกรุงนูกูอาโลฟา]]
 
สภานิติบัญญัติตองงาตองกา ({{lang-to|Fale Alea}}) เป็น[[ระบบสภาเดี่ยว|สภาเดี่ยว]]<ref name="act"/> ประกอบด้วยสมาชิก 26 คน มาจากการเลือกตั้งของประชาชน 17 คน และมาจากขุนนางเลือกกันเองอีก 9 คน<ref name="enact"/> หน้าที่ของสภานิติบัญญัติตองงาตองกาหรือฟาเลอาเลอาคือการตรากฎหมาย ร่างกฎหมายจะพิจารณากันทั้งสิ้น 3 วาระ หากผ่านการลงคะแนนทั้งสามวาระ จึงจะนำถวายพระมหากษัตริย์เพื่อลงพระปรมาภิไธย เมื่อผ่านทุกกระบวนการแล้วจึงประกาศใช้เป็นกฎหมายได้<ref name="act"/> นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่กำหนดมูลค่าการเก็บภาษีของประชาชน กำหนดงบประมาณ แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ และถอดถอนคณะองคมนตรี รัฐมนตรี ผู้ว่าการเขตการปกครอง ([[ฮาอะไป]]และ[[วาวาอู]]) และผู้พิพากษา<ref name="act"/>
 
สมาชิกสภานิติบัญญัติมีวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี<ref name="gov">{{cite web|url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/tn.html|title=TONGA
| publisher = The World Factbook|date=4 February 2014}}</ref> การ[[เลือกตั้ง]]ในตองงาตองกาจะแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 17 เขตเลือกตั้งสำหรับตัวแทนของประชาชน<ref name="IPU"/> และอีก 5 เขตเลือกตั้งสำหรับขุนนาง<ref name="nobleelect">{{cite web|url=http://matangitonga.to/2010/11/25/vaea-and-tuilakepa-enter-house-nobles-seats|title=Vaea and Tu'ilakepa to enter House in Nobles seats|publisher=Matangi Tonga Online|date=4 February 2014}}</ref> ในแต่ละเขตการปกครองมีเขตการเลือกตั้งดังนี้<ref name="nobleelect"/><ref name="IPU"/>
* [[โตงาตาปู]] เขตการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร 10 เขต เขตละ 1 คน สำหรับผู้แทนขุนนางมี 1 เขต เขตละ 3 คน
* [[เออัว]] เขตการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร 1 เขต เขตละ 1 คน สำหรับผู้แทนขุนนางมี 1 เขต เขตละ 1 คน
บรรทัด 134:
 
=== ฝ่ายบริหาร ===
อำนาจของฝ่ายบริหารในตองงาตองกาอยู่ที่นายกรัฐมนตรี พระมหากษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามคำแนะนำของรัฐสภา<ref name="ICT"/> นายกรัฐมนตรีมีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี<ref>{{cite web|url=http://thecommonwealth.org/our-member-countries/tonga/constitution-politics|title=Tonga : Constitution and politics|publisher=The Commonwealth|date=6 February 2014}}</ref> นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ถวายคำแนะนำแด่พระมหากษัตริย์ในการแต่งตั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่าง ๆ <ref name="gov"/> คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากสมาชิกในรัฐสภาและสมาชิกนอกรัฐสภาได้ไม่เกิน 4 คน<ref name="ame2">{{cite web|url=http://crownlaw.gov.to/cms/images/LEGISLATION/AMENDING/2010/2010-0020/ActofConstitutionofTongaAmendmentNo.2Act2010.pdf|title=ACT OF CONSTITUTION OF TONGA AMENDMENT) (NO.2) ACT 2010|publisher=/crownlaw|date=6 February 2014}}</ref> ปัจจุบันประเทศตองงาตองกามีกระทรวง 15 กระทรวง<ref>{{cite web|url=https://www.cia.gov/library/publications/world-leaders-1/TN.html|title=Tonga|publisher=CIA|date=6 February 2014}}</ref> นายกรัฐมนตรีตองงาตองกามีหน้าที่เป็นหัวหน้ารัฐบาล ประธานสภาผู้แทนราษฎร<ref name="lord">{{cite web|url=http://crownlaw.gov.to/cms/images/LEGISLATION/AMENDING/2010/2010-0020/ActofConstitutionofTongaAmendmentNo.2Act2010.pdf|title=Head of Government of Tonga - Prime Minister Lord Tu'ivakano|publisher=Ministry of Information and Communications|date=6 February 2014}}</ref> เสนอแนะการแต่งตั้งผู้ว่าการเขตต่อพระมหากษัตริย์<ref name="ame2"/> และบริหารราชการแผ่นดิน
 
=== ฝ่ายตุลาการ ===
ฝ่ายตุลาการในประเทศตองงาตองกาเป็นอิสระจากอำนาจอื่น ศาลในตองงาตองกามี 4 ประเภท คือ ศาลอุทธรณ์ (Court of Appeal) ศาลสูงสุด (Supreme Court) ศาลที่ดิน (Land Court) และศาลแขวง (Magistrates' Court)<ref name="Judi">{{cite web|url=http://www.mic.gov.to/government/got/4055-the-tongan-judiciary|title=The Tongan Judiciary|publisher=Ministry of Information and Communications|date=17 February 2014}}</ref> พระมหากษัตริย๋แต่งตั้งผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์และศาลสูงสุดตามคำแนะนำของ[[องคมนตรีตองงาตองกา|คณะองคมนตรี]]<ref name="Judi"/> นอกจากนี้ ศาลสูงสุดมีอำนาจไต่สวนคดีที่เกี่ยวข้องกับคณะรัฐมนตรีหรือข้าราชการ รวมถึงวินิจฉัยว่ากฎหมายขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ด้วย<ref name="Judi"/>
 
=== พรรคการเมือง ===
พรรคการเมืองในประเทศตองงาตองกาพรรคแรกก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1994 กลุ่มนิยมประชาธิปไตยคือพรรคประชาชน (People's Party) ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น[[ขบวนการสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย]] (Human Rights and Democracy Movement - HRDM)<ref>{{cite web|url=http://thecommonwealth.org/our-member-countries/tonga/history|title=Tonga : History|publisher=Commonwealth|date=4 February 2014}}</ref> พรรคการเมืองเข้าร่วมเลือกตั้งในตองงาตองกาเป็นครั้งแรกใน[[การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศตองงาตองกา พ.ศ. 2539|การเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 1996]]<ref name="IPU">{{cite web|url=http://www.ipu.org/parline-e/reports/arc/2317_96.htm|title=TONGA
Parliamentary Chamber: Fale Alea|publisher=IPU|date=4 February 2014}}</ref> ในปี ค.ศ. 2005 สมาชิกพรรคบางส่วนของพรรค HRDM ได้ร่วมกันก่อตั้ง[[พรรคประชาธิปไตยประชาชน]]<ref>{{cite web|url=http://archives.pireport.org/archive/2007/January/01-23-comm2.htm|title=PACIFIC ISLANDS REPORT|publisher=Pacific Islands Report|date=4 February 2014}}</ref> หลังจากปี ค.ศ. 2005 เป็นต้นมา มีการก่อตั้งพรรคการเมืองเพิ่มขึ้นอีก 3 พรรค คือ [[พรรคการสร้างชาติอย่างยั่งยืน]] (Paati Langafonua Tu'uloa) ที่ก่อตั้งในปี ค.ศ. 2007<ref>{{cite web|url=http://archive.is/T2kfC|title=Press Release: Sustainable Nation-Building Party|publisher=tongareview|date=4 February 2014}}</ref> [[พรรคแรงงานประชาธิปไตยตองงาตองกา]] (Tongan Democratic Labor Party) ซึ่งกลุ่มข้าราชการก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 2010<ref>{{cite web|url=http://www.radionz.co.nz/international/pacific-news/190791/tonga-psa-forms-party-ahead-of-november-election|title=Tonga PSA forms party ahead of November election|publisher=Radio New Zealand International|date=4 February 2014}}</ref> และ[[พรรคประชาธิปไตยแห่งหมู่เกาะมิตรภาพ]] (Democratic Party of the Friendly Islands) ซึ่งก่อตั้งในปี ค.ศ. 2010<ref>{{cite web|url=http://www.radionz.co.nz/international/pacific-news/192404/another-new-political-party-emerges-in-tonga-as-country-prepares-for-2010-elections|title=Another new political party emerges in Tonga as country prepares for 2010 elections|publisher=Radio New Zealand International|date=4 February 2014}}</ref> ปัจจุบันตองงาตองกามีพรรคการเมืองรวมทั้งสิ้น 5 พรรค
[[ไฟล์:Tonga sm04.svg|260px|left|thumbnail|การแบ่งเขตการปกครองของตองงาตองกา]]
จาก[[การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศตองงาตองกา พ.ศ. 2553|การเลือกตั้งทั่วไป ค.ศ. 2010]] พรรคการเมืองทุกพรรคได้ที่นั่งในรัฐสภารวมกัน 12 ที่นั่ง จากทั้งหมด 17 ที่นั่ง ที่เหลือเป็นผู้สมัครอิสระ
 
=== การแบ่งเขตการปกครอง ===
{{บทความหลัก|รายชื่อเมืองในตองงาตองกา}}
 
ประเทศตองงาตองกาแบ่งเขตการปกครองระดับบนสุดออกเป็น 5 เขตการปกครอง<ref name="gov"/> โดยแต่ละเขตการปกครองมีเมืองหลักดังต่อไปนี้<ref>{{cite web|url=http://www.citypopulation.de/Tonga.html|title=TONGA|publisher=citypopulation|accessdate=1 February 2014}}</ref>
* [[โตงาตาปู]] เมืองหลักคือ [[นูกูอาโลฟา]]
* [[ฮาอะไป]] เมืองหลัก คือ [[ปาไง]]
บรรทัด 155:
* [[เออัว]] เมืองหลัก คือ [[โอโฮนูอา]]
 
แต่ละเขตการปกครองมีการแบ่งเขตย่อยลงไปเป็นอำเภอและหมู่บ้านหรือเมือง โดยในปี ค.ศ. 2013 ประเทศตองงาตองกามีเขตการปกครองระดับอำเภอ 23 อำเภอ และมีหมู่บ้านหรือเมือง 167 หมู่บ้านหรือเมือง<ref name="local">{{cite web|url=http://www.clgf.org.uk/userfiles/1/file/Tonga_Local_Government_Profile_2013_CLGF.pdf|title=Local_Government System in Tonga|publisher=Commonwealth Local Government Forum|accessdate=1 February 2014}}</ref> ในระดับเขตการปกครองนั้นมีเพียง 2 เขตการปกครองเท่านั้นที่มีผู้ว่าการเขตการปกครองคือ[[ฮาอะไป]]และ[[วาวาอู]]<ref name="local"/> ส่วนในระดับย่อยลงไปนั้นจะมีเจ้าหน้าที่ประจำอำเภอ (District Officer) ดูแลการปกครอง การบริหารจัดการในระดับอำเภอและทำรายงานการปกครองต่อนายกรัฐมนตรีหรือผู้ว่าการเขตการปกครอง (ในกรณีของฮาอะไปและวาวาอู)<ref>{{cite web|url=http://legislation.to/Tonga/DATA/PRIN/1988-043/DistrictandTownOfficersAct.pdf|title=DISTRICT AND TOWN OFFICERS ACT|publisher=legislation|accessdate=1 February 2014}}</ref> ส่วนในระดับหมู่บ้านหรือเมืองนั้นจะมีเจ้าหน้าที่ประจำเมือง (Town Officer) เป็นผู้ปกครองหลัก เจ้าหน้าที่ประจำอำเภอและเจ้าหน้าที่ประจำเมืองมาจากการเลือกตั้งโดยมีวาระคราวละ 3 ปี<ref name="local"/>
 
{| width="80%" bgcolor="#fff" border="0" cellpadding="3px" cellspacing="2px" style="margin:auto;"
บรรทัด 196:
 
=== อาชญากรรม ===
ประเทศตองงาตองกามีรายงานการเกิดอาชญากรรมส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินเป็นหลัก โดยพบว่าในปี ค.ศ. 2007 เกิดอาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สิน 1,400 ครั้งจากอาชญากรรมที่มีการรายงานทั้งหมด 2,316 ครั้ง<ref>{{cite web|url=http://www.spc.int/prism/tonga/index.php/social/crime-prevention|title=Crime Prevention|publisher=Tonga Department of Statistics |date=8 February 2014}}</ref> ประเทศตองงาตองกายังคงโทษประหารชีวิตไว้อยู่ แต่[[องค์การนิรโทษกรรมสากล]]จัดให้ตองงาตองกาเป็นประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิตในทางปฏิบัติ การประหารชีวิตครั้งล่าสุดเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1982<ref>{{cite web|url=http://www.amnesty.org/en/death-penalty/countries-abolitionist-in-practice|title=DEATH PENALTY: COUNTRIES ABOLITIONIST IN PRACTICE|publisher=Amnesty International|date=8 February 2014}}</ref>
 
[[ไฟล์:Chinese Embassy in Nuku'alofa.jpg|thumbnail|left|200px|สถานเอกอัคราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำตองงาตองกา]]
 
== ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ==
ประเทศตองงาตองกาเน้นสร้างสัมพันธ์อันดีกับทุกประเทศ โดยให้ความร่วมมือในภารกิจระหว่างประเทศต่าง ๆ กับหลาย ๆ ประเทศ เช่น การส่งกองกำลังเข้าร่วมรบในอัฟกานิสถาน เป็นต้น<ref name="afghanistan"/> สำหรับนโยบายการต่างประเทศในปัจจุบันของตองงาตองกาคือนโยบายมองตะวันออก (Look East Policy) (ถึงแม้ว่าทวีปเอเชียจะตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศตองงาตองกาก็ตาม) ซึ่งเป็นนโยบายที่เน้นความร่วมมือทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจกับทวีปเอเชีย<ref>{{cite web|url=http://www.un.org/webcast/ga/60/statements/tonga050921eng.pdf|title=PERMANENT MISSION OF THE KINGDOM OF TONGA MISSION TO THE UNITED NATIONS|publisher=United Nations|date=21 March 2014}}</ref> ประเทศตองงาตองกายึดถือนโยบายจีนเดียว โดยตัดความสัมพันธ์ทางการทูตระดับเอกอัครราชทูตกับ[[สาธารณรัฐจีน]]ในปี ค.ศ. 1998<ref>{{cite web|url=http://www.islandsbusiness.com/news/tonga/3437/china-seeks-to-strengthen-ties-with-tonga/|title=China seeks to strengthen ties with Tonga|publisher=Islands Business International|date=21 March 2014}}</ref> สำหรับประเทศอื่น ๆ นั้นตองงาตองกามีความสัมพันธ์อันดีกับ[[สหรัฐอเมริกา]] [[ออสเตรเลีย]] และ[[นิวซีแลนด์]]<ref>{{cite web|url=http://www.dfat.gov.au/geo/tonga/tonga_brief.html|title=Kingdom of Tonga country brief|publisher=Department of Foreign Affairs and Trade, Australia Government|date=21 March 2014}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.mfat.govt.nz/Countries/Pacific/Tonga.php|title=Kingdom of Tonga|publisher=Ministry of Foreign Affairs and Trade, New Zealand|date=21 March 2014}}</ref> ส่วน[[สหราชอาณาจักร]]ซึ่งประเทศตองงาตองกามีความสัมพันธ์กันมาอย่างยาวนานนั้นไม่ได้มีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดเหมือนในอดีต เห็นได้จากกรณีการปิดสำนักงานข้าหลวงใหญ่ในกรุงนูกูอาโลฟาเมื่อปี ค.ศ. 2006<ref>{{cite web|url=http://www.pacifictourism.travel/pacific-islands/about/tonga|title=General Information About Tonga|publisher=Pacific Tourism Guide|date=21 March 2014}}</ref>
 
ประเทศตองงาตองกามีความขัดแย้งระหว่างประเทศครั้งสำคัญเมื่อครั้งที่ตองงาตองกาประกาศยึดครองแนวปะการังมิเนอร์วา ([[สาธารณรัฐมิเนอร์วา]])<ref>{{cite web|url=http://www.stuff.co.nz/world/south-pacific/5008060/Fiji-Tonga-war-over-Minerva-Reef|title=Fiji, Tonga war over Minerva Reef|publisher=Fairfax New Zealand Limited|date=21 March 2014}}</ref> โดยฟีจีไม่ยอมรับการประกาศยึดครองในครั้งนี้ ก่อให้เกิดความสัมพันธ์อันตึงเครียดระหว่าง 2 ประเทศ อย่างไรก็ตามทั้ง 2 ประเทศยังคงเจรจาในเรื่องเกี่ยวกับแนวปะการังแห่งนี้อยู่<ref>{{cite web|url=http://www.radionz.co.nz/international/pacific-news/195262/fiji-and-tonga-govts-continue-talks-on-reef-dispute|title=Fiji and Tonga govts continue talks on reef dispute|publisher=Radio New Zealand International|date=21 March 2014}}</ref>
 
== กองทัพ ==
[[ไฟล์:Tongan Soldier During Pre-Afghanistan Training Exercise.jpg|thumbnail|200px|กองกำลังตองงาตองการะหว่างฝึกซ้อมการรบในอัฟกานิสถาน]]
[[กองกำลังป้องกันตองงาตองกา]] ({{lang-en|Tonga Defense Services}}) เป็นกองทัพของประเทศตองงาตองกา ปัจจุบันมี 2 เหล่าทัพหลักคือกองทัพบกและกองทัพเรือ สำหรับกองกำลังทางอากาศนั้นสังกัดกองทัพเรือ<ref name="gov"/> หน้าที่หลักของกองกำลังป้องกันตองงาตองกาคือปกป้องอำนาจอธิปไตยของประเทศ การช่วยเหลือหน่วยงานพลเรือนในกิจการต่าง ๆ และการสนองพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์เป็นครั้งคราว<ref>{{cite web|url=http://legislation.to/Tonga/DATA/PRIN/1992-017/TongaDefenceServicesAct1992.pdf|title=TONGA DEFENCE SERVICES ACT 1992 |publisher=legislation|accessdate=19 February 2014}}</ref> ประเทศตองงาตองกาไม่มีการเกณฑ์ทหาร ผู้ที่ประสงค์เข้ารับราชการทหารในตองงาตองกาต้องมีอายุตั้งแต่ 16 ปีขึ้นไป โดยได้รับคำยินยอมของผู้ปกครอง อย่างไรก็ตาม ในสภาวะสงคราม พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจเรียกระดมพล<ref name="gov"/> ส่วนความร่วมมือทางการทหาร ตองงาตองกามีข้อตกลงความร่วมมือกับ[[สหรัฐอเมริกา]] [[ประเทศจีน]] [[สหราชอาณาจักร]] [[อินเดีย]] และ[[นิวซีแลนด์]] โดยเป็นความร่วมมือด้านการฝึกกำลังพลและโครงสร้างพื้นฐานของกองทัพเป็นหลัก<ref>{{cite web|url=https://www.princeton.edu/~achaney/tmve/wiki100k/docs/Tonga_Defence_Services.html|title=Tonga Defence Services|publisher=princeton|accessdate=19 February 2014}}</ref>
 
สำหรับปฏิบัติการทางทหารของประเทศตองงาตองกาเกิดขึ้นครั้งแรกใน[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] โดยเป็นส่วนหนึ่งของ[[กองทัพนิวซีแลนด์]]<ref name="samoa">{{cite web|url=http://archive.is/Hzmst|title=Tala Mai Tafa - Guardians of Al Faw Palace: The Mighty Royal Tongan Marines|publisher=samoanews|accessdate=19 February 2014}}</ref> ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] มีการก่อตั้งกองกำลังป้องกันตองงาตองกาขึ้น จนกระทั่งสงครามยุติจึงประกาศยกเลิกหน่วยงานนี้ อย่างไรก็ตามกองกำลังป้องกันตองงาตองกาได้เริ่มดำเนินการอีกครั้งในปี ค.ศ. 1946<ref name="samoa"/> นับแต่นั้น กองกำลังป้องกันตองงาตองกามีโอกาสทำหน้าที่รักษาสันติภาพในหลายดินแดน ที่สำคัญคือการรักษาสันติภาพใน[[บูเกนวิลล์]] [[ประเทศปาปัวนิวกินี]] การรักษาสันติภาพใน[[หมู่เกาะโซโลมอน]] การเข้าร่วมกองกำลังผสมนานาชาติเพื่อรักษาสันติภาพใน[[อิรัก]]<ref name="samoa"/> รวมไปถึงการร่วมรบใน[[อัฟกานิสถาน]] ซึ่งตองงาตองกาส่งกองกำลังครึ่งหนึ่งของทั้งกองทัพเข้าร่วมรบในครั้งนี้<ref name="afghanistan">{{cite web|url=https://www.gov.uk/government/news/raf-trains-tongan-troops-for-afghanistan|title=RAF trains Tongan troops for Afghanistan|publisher=Ministry of Defence, UK|accessdate=19 February 2014}}</ref>
 
== ภูมิศาสตร์ ==
ประเทศตองงาตองกาตั้งอยู่ในภูมิภาค[[พอลินีเชีย]] เหนือเส้น[[ทรอปิกออฟแคปริคอร์น]]เล็กน้อย เมืองหลวงของประเทศคือ[[นูกูอาโลฟา]] ห่างจาก[[ออกแลนด์]] เมืองที่ใหญ่ที่สุดของ[[ประเทศนิวซีแลนด์]] ไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 1,770 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากกรุง[[ซูวา]] เมืองหลวงของ[[ฟีจี]] ประมาณ 690 กิโลเมตร<ref name="Nuku'alofa Geo">{{cite web |url=http://www.nationsencyclopedia.com/Asia-and-Oceania/Tonga-LOCATION-SIZE-AND-EXTENT.html|publisher=Encyclopedia of the Nations|title=Tonga - Location, size, and extent|accessdate=7 February 2014}}</ref> ตองงาตองกามีพื้นที่ 747 ตารางกิโลเมตร โดยที่ 30 ตารางกิโลเมตรเป็นพื้นน้ำ<ref>{{cite web |url=http://www.spc.int/aquaculture/index.php?option=com_countries&view=country&id=18|publisher=Encyclopedia of the Nations|title=Tonga|accessdate=7 February 2014}}</ref> ประเทศตองงาตองกาประกอบด้วยเกาะ 169 เกาะ แต่มี 36 เกาะเท่านั้นที่มีประชากรอยู่อาศัย<ref name="islands"/> ตองงาตองกาประกอบด้วย 3 [[กลุ่มเกาะ]]หลัก คือ [[โตงาตาปู]]ซึ่งประชากรเกินครึ่งหนึ่งของประเทศอาศัยอยู่ [[วาวาอู]]ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือ และ[[ฮาอะไป]]ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนกลางของประเทศ ภูมิอากาศของประเทศมีลักษณะแบบ[[เขตร้อน]]<ref name="gov"/> ดินของตองงาตองกามีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก<ref>{{cite web |url=http://www.fao.org/ag/agp/AGPC/doc/Counprof/southpacific/Tonga.htm#|title=TONGA|publisher=FAO|accessdate=7 February 2014}}</ref> จุดสูงสุดของประเทศมีความสูง 1,033 เมตรตั้งอยู่บน[[เกาะเกา]]<ref name="gov"/>
 
=== ภูมิประเทศและธรณีสัณฐาน ===
[[ไฟล์:Home reef.jpg|200px|thumbnail|เกาะที่เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟใต้สมุทร]]
หมู่เกาะตองงาตองกาเป็นหมู่เกาะที่ตั้งอยู่ในแผ่นเปลือกโลกแปซิฟิกและอยู่ใกล้แผ่นเปลือกโลกออสเตรเลีย ทางตะวันตกของหมู่เกาะมี[[ร่องลึกตองงาตองกา]] หมู่เกาะตองงาตองกามีทั้งเกาะที่เกิดจากภูเขาไฟและเกาะที่เกิดจากปะการัง<ref name="coral reef">{{cite web |url=http://www.sprep.org/att/IRC/eCOPIES/Countries/Tonga/5.pdf|title=National coral reef status report Tonga|author=Edward R. Lovell and Asipeli Palaki|accessdate=21 March 2014}}</ref> หมู่เกาะตองงาตองกากำเนิดขึ้นเมื่อใดนั้นไม่สามารถกำหนดเวลาได้ชัดเจน อย่างไรก็ตามมีการคาดการณ์ว่าหมู่เกาะตองงาตองกาถือกำเนิดขึ้นเมื่อ 5 ล้านปีก่อนใน[[สมัยไพลโอซีน]] ผู้เชี่ยวชาญบางคนคาดว่าเกาะแรกของหมู่เกาะตองงาตองกาอาจเกิดขึ้นตั้งแต่ปลาย[[สมัยมีโอซีน]]แล้ว<ref name="pacific bird">Fonte:David W. Steadman. Extinction & Biogeography of Tropical Pacific Birds. - University of Chicago, 2006. - С. 21. - 594 с. - ISBN 0-226-77142-3</ref>
 
เกาะที่สำคัญของตองงาตองกาหลายเกาะเกิดจากภูเขาไฟ เช่น [[อาตา]], [[ฮาอะไป]], [[เกา]], [[โอโงนีอูอา]] เป็นต้น เกาะภูเขาไฟเหล่านี้เกิดจากแนวภูเขาไฟที่วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงใต้-ตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะอาตา แนวภูเขาไฟดังกล่าวมีส่วนสำคัญทำให้ตองงาตองกามีเกาะใหม่เพิ่มขึ้นมา ทว่าเกาะที่เกิดขึ้นมานั้นมักจะจมลงทะเลในปีถัดไป ปัจจุบันมีเกาะเกิดจากแนวภูเขาไฟแห่งนี้เพียงเกาะเดียวที่ยังคงอยู่<ref name="coral reef"/>
 
[[ไฟล์:Vavau from ISS.jpg|left|thumbnail|200px|เกาะวาวาอู]]
เกาะในเขตการปกครอง[[วาวาอู]]จะพบว่ายังพบภูเขาไฟที่มีพลังอยู่ ส่วนพื้นดินเกิดจากหินปูน รอบ ๆ เกาะนั้นมักมีปะการังล้อมรอบ<ref name="pacific bird"/> ส่วนในเขตการปกครอง[[ฮาอะไป]]พบว่ายังมีภูเขาไฟที่มีพลังอยู่เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งบนเกาะเกาและ[[โตฟูอา]]<ref name="coral reef"/> ในขณะที่สภาพดินของเกาะคล้ายกับที่วาวาอูคือเป็นดินที่เกิดจากหินปูน ส่วนในเขตการปกครอง[[โตงาตาปู]]และ[[เออัว]]นั้นเป็นเกาะที่กำเนิดจากปะการัง ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบที่มีความสูงไม่เกิน 30 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง และมีเถ้าจากภูเขาไฟปกคลุมบริเวณเกาะ ทำให้ดินในบริเวณนี้มีความอุดมสมบูรณ์<ref>David Stanley, Tonga - Samoa Handbook (Emeryville, CA: Moon Publication, 1999), 216.</ref>
 
ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา พบว่ามีการระเบิดของภูเขาไฟในบริเวณหมู่เกาะนี้หลายครั้ง ภูเขาไฟที่ใหญ่ที่สุดของตองงาตองกามีความสูง 515 เมตร มีความกว้าง 5 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนเกาะโตฟูอา<ref name="tofua">{{cite web |url=http://www.volcano.si.edu/volcano.cfm?vn=243060|title=Tofua|publisher= NATIONAL MUSEUM OF NATURAL HISTORY|accessdate=21 March 2014}}</ref> ซึ่งเกิดการระเบิดของภูเขาไฟแห่งนี้ครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 2013<ref name="tofua"/> ส่วนภูเขาไฟที่สูงที่สุดของประเทศนี้ตั้งอยู่บนเกาะเกา มีความสูง 1,030 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง<ref>{{cite web |url=http://www.volcano.si.edu/volcano.cfm?vn=243061|title=Kao|publisher= NATIONAL MUSEUM OF NATURAL HISTORY|accessdate=21 March 2014}}</ref>
 
=== ภูมิอากาศ ===
ประเทศตองงาตองกาเป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตร้อน<ref>{{cite web |url=http://www.pacificclimatechangescience.org/wp-content/uploads/2013/09/Tonga.pdf|title=Chapter 14 Tonga|publisher=Climate Change in the Pacific: Scientific Assessment and New Research Volume 2: Country Reports|accessdate=13 February 2014}}</ref> โดยได้รับอิทธิพลจาก[[ลมค้า]]ใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]<ref name="intial">{{cite web |url=http://unfccc.int/resource/docs/natc/tonnc1.pdf|publisher=The Kingdom of Tonga’s Initial National Communication |title=The Kingdom of Tonga’s Initial National Communication|accessdate=13 February 2014}}</ref> ประเทศตองงาตองกามี 2 ฤดูกาลคือฤดูฝนและฤดูแล้ง ฤดูฝนในประเทศตองงาตองกายังเป็นฤดูของพายุหมุนด้วย ซึ่งอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายนของทุกปี<ref name="intial"/> ส่วนฤดูแล้งอยู่ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมของทุกปี<ref name="intial"/> เดือนมกราคม กุมภาพันธ์ และมีนาคมเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนมากที่สุด ซึ่งอาจมีปริมาณน้ำฝนต่อเดือนสูงได้ถึง 250 มิลลิเมตร<ref name="intial"/>
 
อุณหภูมิเฉลี่ยในประเทศตองงาตองกาจะอยู่ระหว่าง 23-26 องศาเซลเซียสตามแต่ละท้องถิ่น ในฤดูฝนซึ่งเป็นฤดูที่อากาศร้อนมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 25-26 องศาเซลเซียส ในขณะที่ฤดูแล้งซึ่งอากาศเย็นมีอุณหภูมิระหว่าง 21-24 องศาเซลเซียส<ref name="intial"/> จากสถิติที่มีการบันทึกพบว่าบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงสุดในประวัติศาสตร์ตองงาตองกาอยู่ที่บริเวณหมู่เกาะวาวาอูในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979 โดยมีอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส ขณะที่บริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำสุดในประวัติศาสตร์ตองงาตองกาอยู่ที่[[ฟูอาอะโมตู]] โดยมีอุณหภูมิ 8.7 องศาเซลเซียส ซึ่งวัดในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1994<ref>{{cite web |url=http://www.met.gov.to/index_files/climate_summary_tonga.pdf|publisher=Tonga Meteorological Service |title=CLIMATE SUMMARY OF TONGA
| accessdate = 13 February 2014}}</ref>
 
บรรทัด 343:
 
=== ทรัพยากรดิน ===
[[ไฟล์:Coastline in Tonga.jpg|200px|thumbnail|ชายฝั่งของตองงาตองกา]]
ทรัพยากรดินในหมู่เกาะของประเทศตองงาตองกามีความอุดมสมบูรณ์สูงมาก ยกเว้นบริเวณที่มีภูเขาไฟเกิดใหม่ ดินส่วนใหญ่ในตองงาตองกาเกิดจากการทับถมของเถ้า[[ภูเขาไฟ]]และ[[หินแอนดีไซต์]]บน[[หินปูน]]ซึ่งเกิดจาก[[ปะการัง]]<ref name="sprep"/> ดินในตองงาตองกาเป็นดินที่มีคุณสมบัติที่ดี เนื่องจากเป็นดินที่การระบายน้ำดีและมีความสามารถในการเก็บกักน้ำปานกลาง<ref name="sprep"/>
 
ดินในเกาะโตงาตาปูเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูงมาก เหมาะแก่การปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ ในขณะที่บริเวณชายฝั่งดินส่วนใหญ่เป็นดินเค็ม เพราะอยู่ติดทะเล ขณะที่ดินของเกาะเออัวมีความอุดมสมบูรณ์ ยกเว้นทางตอนใต้ของเกาะที่เป็นหินปะการัง ส่วนในฮาอะไป เกาะส่วนใหญ่เกิดจากการทับถมของปะการัง โดยในฮาอะไปกำลังเผชิญปัญหาการพังทลายของหน้าดิน ซึ่งทำให้ดินในฮาอะไปลดความอุดมสมบูรณ์<ref>{{cite web |url=http://www.fao.org/ag/AGP/agpc/doc/Counprof/southpacific/Tonga.htm#3.|title=Country Pasture/Forage Resource Profiles
บรรทัด 351:
 
=== ทรัพยากรน้ำ ===
หมู่เกาะตองงาตองกามีทรัพยากรน้ำจืดที่ค่อนข้างจำกัด ชาวตองงาตองกานิยมเก็บน้ำจืดไว้ในถังคอนกรีตซึ่งมาจากการเก็บกักน้ำฝนและสูบน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ในชีวิตประจำวัน<ref name="sprep">{{cite web |url=http://www.sprep.org/att/IRC/eCOPIES/Countries/Tonga/11.pdf|publisher=SPREP|title=The Kingdom of Tonga: action strategy for managing the environment|accessdate=8 February 2014}}</ref> แหล่งน้ำหรือทะเลสาบสำคัญมักตั้งอยู่ในเกาะภูเขาไฟ<ref name="sprep"/> โดยแหล่งน้ำที่สำคัญและมีขนาดใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในเกาะ[[วาวาอู]] [[นีอูอาโฟโออู]] [[โนมูกา]] และ[[นีอูอาโตปูตาปู]]<ref name="water">{{cite web |url=http://www.nationsencyclopedia.com/Asia-and-Oceania/Tonga-TOPOGRAPHY.html|publisher=Encyclopedia of the Nations|title=Tonga - Topography |accessdate=8 February 2014}}</ref>
 
=== พืชและสัตว์ ===
[[ไฟล์:Regenwald auf Eua.jpg|150px|thumb|ป่าฝนเขตร้อนในเกาะเออัว]]
พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตองงาตองกาปกคลุมไปด้วย[[ป่าฝนเขตร้อน]] อย่างไรก็ตามจากการสนับสนุนเกษตรกรรมตามเกาะต่าง ๆ ทำให้พื้นที่ป่าลดลงไปมาก หญ้าและพืชขนาดเล็กหลายชนิดเข้าปกคลุมพื้นที่ป่าเดิม<ref name="ramzar">{{cite web |url=http://ramsar.wetlands.org/Portals/15/Kingdom_of_Tonga.pdf|publisher=ramsar|title=KINGDOM OF TONGA
| accessdate = 13 February 2014}}</ref> ขณะที่พื้นที่ชายฝั่งและบริเวณปากปล่องภูเขาไฟมักพบ[[ไม้ล้มลุก]]เป็นหลัก<ref name="ramzar"/> ประเทศตองงาตองกาเป็นประเทศแรกในภูมิภาคแปซิฟิกใต้ที่มีการประกาศพื้นที่เป็นเขตสงวนของชาติ<ref name="Nationpark"/> ปัจจุบันในหมู่เกาะตองงาตองกามีการประกาศพื้นที่ให้เป็นอุทยานแห่งชาติแล้ว 2 แห่ง (ในเขตการปกครองเออัวและวาวาอู เขตละ 1 แห่ง) และประกาศให้เป็นเขตสงวน 6 แห่ง<ref name="Nationpark">{{cite web |url=http://www.jasons.com/tonga/tonga-parks-and-marine-reserves|publisher=jasons|title=Tonga - Parks & Marine Reserves
| accessdate = 13 February 2014}}</ref>
 
สำหรับพืชที่ค้นพบในประเทศตองงาตองกานั้น พบว่ามี[[พืชที่มีท่อน้ำเลี้ยง]] 770 [[สปีชีส์]] ซึ่งรวมไปถึง[[เฟิร์น]]ที่มี 70 สปีชีส์ (3 สปีชีส์เป็น[[สิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น]]) [[พืชเมล็ดเปลือย]] 3 ชนิด (''[[Podocarpus pallidus]]'' เป็นพืชเมล็ดเปลือยที่พบเฉพาะถิ่น) และมี[[พืชดอก]] 698 สปีชีส์ ซึ่งมี 9 สปีชีส์ที่เป็นไม้ดอกท้องถิ่น<ref name="protect">Arthur L. ''Review of the protected areas system in Oceania.'' Gland Switzerland: IUCN, 1986. — С. 148. — 312 с. — ISBN 2-88032-509-9</ref> เกาะต่าง ๆ ของประเทศตองงาตองกาต่างมีสปีชีส์ของพืชที่มีความหลากหลายแตกต่างกัน เช่น เกาะโตงาตาปูมีพืช 340 สปีชีส์ ในขณะที่วาวาอูมีพืช 7 สปีชีส์<ref name="protect"/>
 
แม้จะพบพืชหลากหลายสปีชีส์ในหมู่เกาะของประเทศตองงาตองกา แต่สัตว์ที่อาศัยอยู่กลับไม่มีความหลากหลายมากนัก พบว่ามี[[สัตว์เลื้อยคลาน]] 12 สปีชีส์โดยหนึ่งในนั้นเป็นสัตว์เฉพาะถิ่น ค้างคาว 2 สปีชีส์ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเพียงชนิดเดียวที่เป็นสัตว์ท้องถิ่น<ref name="ramzar"/> ในบริเวณชายฝั่งทะเลพบสิ่งมีชีวิตประเภท[[เต่า]] [[มอลลัสกา]]และ[[ปลา]]หลากหลายชนิด นอกจากนี้ในบริเวณหมู่เกาะตองงาตองกายังพบนกเป็นจำนวนมาก ซึ่งมี 75 สปีชีส์ โดยมีนก 2 สปีชีส์เป็นนกท้องถิ่นคือ ''[[Pachycephala jacquinoti]]'' ซึ่งอาศัยอยู่ในวาวาอูและ ''[[Megapodius pritchardii]]'' ซึ่งอาศัยอยู่ใน[[นีอูอาโฟโออู]]<ref>{{cite web |url=http://avibase.bsc-eoc.org/checklist.jsp?lang=EN&region=to|publisher=Avibase|title=Avibase - Bird Checklists of the World Tonga|accessdate=13 February 2014}}</ref> การเข้ามาอยู่อาศัยของมนุษย์ในดินแดนตองงาตองกาส่งผลให้นก 23 สปีชีส์สูญพันธุ์ไปจากตองงาตองกา<ref>{{cite web |url=https://worldwildlife.org/ecoregions/oc0114|publisher=World Wildlife Fund|title=Kingdom of Tonga and Niue, north of New Zealand|accessdate=13 February 2014}}</ref>
 
== เศรษฐกิจ ==
[[ไฟล์:10-Pa'anga-Note-Rückseite.jpg|200px|thumbnail|ธนบัตรสกุลเงินปาอางา]]
ประเทศตองงาตองกามีเศรษฐกิจขนาดเล็ก อันเนื่องมาจากทรัพยากรมีจำกัดและอยู่ห่างไกลจากแหล่งตลาดโลก ซึ่งเป็นปัญหาทางเศรษฐกิจเดียวกับที่กลุ่มประเทศในทวีปโอเชียเนียประสบอยู่<ref name="economy of tonga"/> ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของตองงาตองกาขึ้นอยู่กับปัจจัยทางธรรมชาติเป็นสำคัญ เนื่องจากผลผลิตส่วนใหญ่ของประเทศที่ส่งออกเป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและการประมง การที่ประเทศตองงาตองกาอยู่ห่างไกลจากตลาดโลกไม่ได้เป็นเพียงปัจจัยที่ทำให้ค่าขนส่งสินค้าแพงเท่านั้น แต่ยังเป็นปัจจัยที่ทำให้ประเทศตองงาตองกาขาดปัจจัยการผลิตอีกด้วย<ref name="economy of tonga">{{cite web |url=http://www.sprep.org/att/IRC/eCOPIES/Countries/Tonga/6.pdf|publisher=sprep|title=Economy of Tonga|accessdate=6 March 2014}}</ref> [[สำนักข่าวกรองกลาง]] รายงานว่า ใน ค.ศ. 2013 ตองงาตองกามีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจร้อยละ 1<ref name="gov"/>
 
=== เกษตรกรรม ===
ภาคเกษตรกรรมเป็นภาคเศรษฐกิจที่สำคัญมากของตองงาตองกา อย่างไรก็ตามในปัจจุบันส่วนแบ่งรายได้ของผลิตภัณฑ์ภาคการเกษตรใน[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ]]ลดลง โดยระหว่าง ค.ศ. 1994 - 1995 ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรมีส่วนแบ่งในผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติร้อยละ 34 ขณะที่ช่วง ค.ศ. 2005 - 2006 ส่วนแบ่งดังกล่าวลดเหลือร้อยละ 25 เท่านั้น สาเหตุหลักเกิดจากการที่รัฐสนับสนุนภาคบริการ จนกลายเป็นภาคที่มีความสำคัญต่อเศรษฐกิจท้องถิ่น ซึ่งรัฐบาลมองว่าจะช่วยสร้างรากฐานทางเศรษฐกิจที่ดีให้แก่ประเทศและสามารถยืนหยัดอยู่ในกระแส[[โลกาภิวัตน์]]ได้<ref name="intial"/>
[[ไฟล์:Kiekie yams.jpg|thumbnail|200px|เกษตรกรชาวตองงาตองกากับมันเทศ]]
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่สำคัญของตองงาตองกาคือ[[มะพร้าว]] ซึ่งรวมไปถึงต้นกล้ามะพร้าว นอกจากนี้ยังส่งออก[[กล้วย]] [[วานิลลา]] [[ฟักทอง]] [[โกโก้]] [[กาแฟ]] [[ขิง]] พืชหัวชนิดต่าง ๆ และ[[พริกไทย]]<ref>{{cite web |url=http://www.mfa.go.th/main/contents/files/world-20131022-105250-274241.pdf|publisher=กระทรวงการต่างประเทศ|title=ราชอาณาจักรตองงาตองกา (Kingdom of Tonga)|accessdate=6 March 2014}}</ref><ref name="islands"/>
 
=== ประมง ===
ประเทศตองงาตองกามี[[เขตเศรษฐกิจจำเพาะ]] 700,000 ตารางกิโลเมตร โดยรัฐบาลตองงาตองกาอนุญาตให้กองเรือต่างชาติที่ใบอนุญาตจับปลาได้รับการอนุมัติแล้วเข้ามาทำประมงในเขตดังกล่าวได้ ซึ่งการทำประมงในเขตดังกล่าว กองเรือส่วนใหญ่นิยมจับ[[ปลาทูน่า]]ซึ่งมีปริมาณค่อนข้างมากในบริเวณนี้ อย่างไรก็ตามด้วยการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศและอิทธิพลของ[[เอลนิโญ]]และ[[ลานีญา]]ส่งผลให้ปริมาณการจับปลาลดลงจากในอดีต<ref name="fish">{{cite web |url=http://www.sprep.org/att/IRC/eCOPIES/Countries/Tonga/7.pdf|title=Fisheries Resources Profiles Kingdom of Tonga|publisher=PACIFIC ISLANDS FORUM FISHERIES AGENCY|accessdate=22 February 2014}}</ref>
 
ปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 เริ่มมีการจับ[[ล็อบสเตอร์]]เพื่อการค้ามากขึ้น โดยนิยมจับบริเวณทางตอนเหนือของ[[ฮาอะไป]]และทางใต้ของ[[สาธารณรัฐมิเนอร์วา|แนวปะการังมิเนอร์วา]] ซึ่งสามารถจับได้ถึง 36 ตันต่อปี อย่างไรก็ตามปริมาณของลอบสเตอร์ที่จับได้ในปัจจุบันลดลงเหลือ 12 ตันต่อปี นอกจากนี้ยังพบการจับ[[ชั้นไบวาลเวีย|หอยสองฝา]]เพื่อใช้บริโภคตามครัวเรือน รวมไปถึงขายเป็นของที่ระลึกแก่นักท่องเที่ยวด้วย<ref name="fish"/> ปัจจุบันรัฐบาลตองงาตองกาส่งเสริมให้ประชาชนเลี้ยง[[หอยนางรม]]เพื่อนำ[[ไข่มุก]]มาสร้างรายได้แก่ตน การริเริ่มเลี้ยงหอยนางรมในตองงาตองกาเกิดขึ้นใน[[วาวาอู]] โดยพันธุ์ที่เลี้ยงในระยะแรกเป็นพันธุ์ที่นำเข้ามาจาก[[ญี่ปุ่น]]ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970<ref>{{cite web |url=http://www.spc.int/DigitalLibrary/Doc/FAME/InfoBull/POIB/7/POIB7.pdf|title=PEARL OYSTER|publisher=Pearl Oyster Information Bulletin|accessdate=22 February 2014}}</ref>
[[ไฟล์:Neiafu.jpg|thumbnail|left|250px|ท่าเรือเมืองเนอิอาฟู]]
 
=== การท่องเที่ยว ===
ในช่วงหลังยุคอาณานิคมช่วงแรก ธุรกิจการท่องเที่ยวในตองงาตองกาซบเซาและไม่มีการพัฒนามากนัก อย่างไรก็ตามใน ค.ศ. 1966 รัฐบาลตองงาตองกาตัดสินใจสร้างโรงแรมแห่งแรกในประเทศคือโรงแรมอินเตอร์แนชนัลเดตไลน์ขึ้น การสร้างโรงแรมอินเตอร์แนชนัลเดตไลน์ในครั้งนี้ถือได้ว่าเป็นก้าวสำคัญในการพัฒนาการท่องเที่ยว<ref>{{cite web |url=http://www.tim.hawaii.edu/ctps/tonga1990_executivesummary.pdf|title=TOURISM DEVELOPMENT IN THE KINGDOM OF TONGA|publisher=School of Travel Industry Management, University of Hawaii at Manoa|accessdate=7 March 2014}}</ref> ปัจจุบันการท่องเที่ยวถือได้ว่ามีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจตองงาตองกาและเป็นภาคสำคัญที่ทำให้เงินตราต่างประเทศไหลเข้าประเทศ ใน ค.ศ. 2011 มีนักเดินทางและนักท่องเที่ยวเดินทางเข้าประเทศตองงาตองกา 94,960 คน เพิ่มขึ้นจาก 66,639 คน ใน ค.ศ. 2004<ref>{{cite web |url=http://www.spc.int/prism/tonga/index.php/component/docman/doc_download/159-2011-mig-report?Itemid=23|title=International Arrivals, Departures and Migration Bulletin 2011 |publisher=Statistics Department|accessdate=7 March 2014}}</ref> นักท่องเที่ยวกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนนักท่องเที่ยวทั้งหมดมาจาก[[ประเทศนิวซีแลนด์]]และ[[ประเทศออสเตรเลีย]]<ref>{{cite web |url=http://www.spc.int/prism/tonga/index.php/tourism-statistics/international-arrivals-and-departures/country-of-citizenship|title=International arrivals by Air and Yacht by country of Citizenship 2005-2011|publisher=Statistics Department|accessdate=7 March 2014}}</ref> จุดประสงค์หลักของการเดินทางเข้าประเทศตองงาตองกาคือการพักผ่อนในวันหยุดและการเยี่ยมญาติเป็นหลัก<ref>{{cite web |url=http://www.spc.int/prism/tonga/index.php/tourism-statistics/international-arrivals-and-departures/purpose-of-visit|title=Visitors Arrivals by Reason for Visit, 2005 - 2011|publisher=Statistics Department|accessdate=7 March 2014}}</ref> กิจกรรมการท่องเที่ยวในตองงาตองกามีอยู่หลายกิจกรรม ยกตัวอย่างเช่น การพายเรือคายัก การดำน้ำ การชมวาฬใต้ทะเล การตกปลา การดูนก การเลือกซื้องานหัตถกรรมพื้นเมือง เป็นต้น<ref>{{cite web |url=http://www.thekingdomoftonga.com/index.php/things-to-do/|title=Things to do|publisher= Tonga Visitors Bureau|accessdate=7 March 2014}}</ref>
 
=== การส่งออกและการนำเข้า ===
ประเทศตองงาตองกาส่งออกสินค้าไปยัง[[ประเทศเกาหลีใต้]] [[สหรัฐอเมริกา]] และ[[นิวซีแลนด์]]เป็นหลัก โดยผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกไปยังประเทศเหล่านี้คิดเป็นร้อยละ 18.5, 17 และ 15.6 ตามลำดับ ประเทศอื่น เช่น [[ฟีจี]] (ร้อยละ 10.2) [[ญี่ปุ่น]] (ร้อยละ 9.5) [[ซามัว]] (ร้อยละ 8.6) [[อเมริกันซามัว]] (ร้อยละ 5.4) และออสเตรเลีย (ร้อยละ 5.1) สำหรับผลิตภัณฑ์ที่ตองงาตองกาส่งออกนอกประเทศคือ [[สควอช]] [[ปลา|ปลาทะเล]] [[วานิลลา]] และ[[พืชหัว]]<ref name="gov"/>
 
สำหรับการนำเข้าสินค้า ประเทศตองงาตองกานำเข้าสินค้าเกินครึ่งหนึ่งจาก[[ประเทศฟีจี]]และ[[ประเทศนิวซีแลนด์]] โดยคิดเป็นร้อยละ 35.7 และ 24.4 ตามลำดับ นอกจากนี้ตองงาตองกายังนำเข้าสินค้าจาก[[สหรัฐอเมริกา]] (ร้อยละ 10.5) และ[[ประเทศจีน]] (ร้อยละ 10.2) ส่วนที่เหลือเป็นการนำเข้าสินค้าจากประเทศอื่น ๆ สินค้าที่ตองงาตองกานำเข้ามาในประเทศคือ อาหาร เครื่องจักร เชื้อเพลิง และเคมีภัณฑ์<ref name="gov"/>
 
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
สำมะโนตองงาตองกาในปี ค.ศ. 2011 ได้รายงานสภาพโครงสร้างพื้นฐานของตองงาตองกาในหลาย ๆ ด้าน โดยจากผลสำรวจพบว่ามีเพียง 567 ครัวเรือนจาก 18,033 ครัวเรือนทั่วประเทศที่เข้าถึงน้ำประปา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นครัวเรือนบนเกาะ[[โตงาตาปู]]<ref name="full report"/> ในส่วนของการเข้าถึงไฟฟ้านั้นพบว่าครัวเรือนร้อยละ 88.51 มีไฟฟ้าใช้ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้กระแสไฟฟ้าที่จ่ายมาตามเสาไฟฟ้า นอกจากนี้การใช้น้ำมันและพลังงานแสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้าก็เป็นอีกหนึ่งแหล่งพลังงานที่นิยมใช้กัน<ref name="full report"/> โครงสร้างพื้นฐานที่ดีของประเทศส่วนใหญ่พัฒนาอยู่แต่บนเกาะโตงาตาปู โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตเมืองนูกูอาโลฟา อันถือได้ว่าเป็นเขต[[เมือง]]แท้จริงเพียงแห่งเดียวของประเทศ<ref>{{cite web |url=http://www.happytellus.com/tonga|publisher=happytellus|title=Tonga Travel Information|accessdate=20 February 2014}}</ref>
 
=== การคมนาคม ===
[[ไฟล์:Fua'amoto International Airport Entrance.jpg|thumbnail|250px|ท่าอากาศยานนานาชาติฟูอาอะโมตู]]
ถนนส่วนมากในประเทศตองงาตองกาสร้างโดยใช้เงินบริจาคจากรัฐบาลต่างประเทศ<ref name="intial"/> ประเทศตองงาตองกามีความยาวถนนรวมกัน 680 กิโลเมตร โดย 496 กิโลเมตรยังไม่ได้ลาดยาง<ref name="gov"/> เนื่องจากตองงาตองกาเป็นประเทศเกาะขนาดเล็กและการจัดการที่ดินยังไม่มีประสิทธิภาพ จึงเป็นปัญหาในการพัฒนาระบบถนน<ref name="intial"/> ประชาชนนิยมใช้การขนส่งทางเรือในการเดินทางระหว่างเกาะ โดยท่าเรือที่สำคัญของประเทศอยู่ที่[[นูกูอาโลฟา]] [[ปาไง]] และ[[เนอิอาฟู]]<ref name="gov"/>
 
ประเทศตองงาตองกามีท่าอากาศยาน 6 แห่ง โดยมีเพียง 1 แห่งเท่านั้นที่มีพื้นลาดยาง ([[ท่าอากาศยานนานาชาติฟูอาอะโมตู]])<ref name="gov"/> สายการบินแห่งชาติของตองงาตองกาคือ[[รอยัลตองงาตองกาแอร์ไลน์]] โดยก่อตั้งในปี ค.ศ. 1985<ref>{{cite web |url=http://web.archive.org/web/20040415145242/www.royaltonganairlines.com/about/about.html|publisher=Royal Tongan Airlines|title=Our Airline|accessdate=20 February 2014}}</ref> ซึ่งต่อมาประสบภาวะล้มละลายและเลิกกิจการในปี ค.ศ. 2004 จากการบริหารกิจการที่ล้มเหลวของรัฐบาลในขณะนั้น<ref>{{cite web |url=http://www.radionz.co.nz/international/pacific-news/149557/liquidator-for-royal-tongan-invites-creditors-to-claim|publisher= Radio New Zealand |title=Liquidator for Royal Tongan invites creditors to claim|accessdate=20 February 2014}}</ref> หลังจากนั้นได้มีการจัดตั้ง[[สายการบินเปเอา วาวาอู]] ขึ้นเพื่อรองรับการเดินทางภายในประเทศ อย่างไรก็ตามรัฐบาลได้เพิกถอนใบอนุญาตสายการบินนี้หลังจากเหตุการณ์เพลิงไหม้สำนักงานแห่งหนึ่งของสายการบิน<ref>{{cite web |url=http://web.archive.org/web/20070927023109/www.peauvavau.to/history.html|publisher= Peau Vava'u Ltd|title=History of Peau Vava'u|accessdate=20 February 2014}}</ref> สายการบินของต่างประเทศ ได้แก่ แอร์นิวซีแลนด์ เวอร์จินออสเตรเลีย และฟีจีแอร์เวย์ เป็นผู้ดำเนินการการเดินทางระหว่างประเทศในตองงาตองกา<ref>{{cite web |url=http://www.tongaairports.com/flight-schedules/international/|publisher= Tonga Airports Limited|title=International flights scheduled|accessdate=20 February 2014}}</ref> ส่วนสายการบินเรียลตองงาตองกาดำเนินการการเดินทางในประเทศ<ref>{{cite web |url=http://www.tongaairports.com/flight-schedules/domestic/|publisher= Tonga Airports Limited|title=Domestic flights scheduled|accessdate=20 February 2014}}</ref>
 
=== การสื่อสาร ===
[[ไฟล์:TBCstudios.JPG|thumbnail|200px|Tongan Broadcasting Commission]]
ในประเทศตองงาตองกามีสื่อพิมพ์เผยแพร่รายสัปดาห์อยู่ 2 ฉบับ คือ นิตยสารมาตางีโตงาซึ่งเป็นของเอกชนและหนังสือพิมพ์ "Tonga Chronicle" ซึ่งเป็นของรัฐบาล โดยตีพิมพ์ในวันศุกร์ของทุกสัปดาห์เป็น[[ภาษาตองงาตองกา]]และ[[ภาษาอังกฤษ]]<ref name="bbc press">{{cite web |url=http://www.bbc.com/news/world-asia-pacific-16198226|publisher= BBC|title=Tonga Profile|accessdate=20 February 2014}}</ref><ref name="press">{{cite web |url=http://www.pressreference.com/Sw-Ur/Tonga.html|publisher=pressreference|title=Tonga|accessdate=20 February 2014}}</ref> นอกจากนี้ยังมีหนังสือพิมพ์เอกชน "the Times of Tonga" ซึ่งตีพิมพ์ในเมือง[[ออกแลนด์]] [[นิวซีแลนด์]] โดยรายงานข่าวจากหมู่เกาะตองงาตองกา 2 อาทิตย์ต่อครั้ง<ref name="press"/> ประเทศตองงาตองกามีสถานีวิทยุ 4 สถานี ดังนี้ "Kool 90FM" (รัฐบาลเป็นเจ้าของ), "Tonga Radio "Magic" 89.1 FM", "Nuku'alofa Radio" และ "93FM" ซึ่งทั้งสามสถานีหลังเป็นของเอกชน<ref name="bbc press"/> สถานีโทรทัศน์มีผู้ดำเนินการ 2 รายคือรัฐบาลและดิจิทีวีซึ่งเป็นเอกชน<ref name="bbc press"/>
 
ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเกาะนั้นปรากฏการใช้โทรศัพท์และอินเทอร์เน็ต โดยพบว่ามีโทรศัพท์พื้นฐานใช้งาน 30,000 เครื่อง โทรศัพท์มือถือ 56,000 เครื่อง ขณะที่มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 8,400 คน<ref name="gov"/>
[[ไฟล์:US Navy 090724-N-9689V-004 Royal New Zealand Navy Petty Officer Richard Boyd dances with school children during a Pacific Partnership 2009 community service project at Faleloa Primary School.jpg|thumbnail|left|200px|นักเรียนชาวตองงาตองกา]]
 
=== การศึกษา ===
ระบบ[[การศึกษา]]แบบสมัยใหม่ในตองงาตองกาเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1826 โดยคณะมิชชันนารีเวสเลยัน หลังจากนั้นไม่นานมิชชันนารีกลุ่มอื่น ๆ ทั้งโรมันคาทอลิกและโปรเตสแตนต์ได้เข้ามาจัดการศึกษา จึงอาจกล่าวได้ว่ารากฐานทางการศึกษาของประเทศตองงาตองกามาจากกลุ่มมิชชันนารีเหล่านี้ ซึ่งมีการสอดแทรกหลักคำสอนของ[[ศาสนาคริสต์]]ในการจัดการเรียนการสอนอีกด้วย<ref name="edu">{{cite web |url=http://education.stateuniversity.com/pages/1540/Tonga.html|publisher=Educational Encyclopedia|title=Tonga|accessdate=14 March 2014}}</ref> [[การศึกษา]]ภาคบังคับของประเทศตองงาตองกากำหนดให้ประชาชนจบการศึกษาไม่ต่ำกว่าชั้น[[ประถมศึกษา]] ซึ่งข้อกำหนดนี้บังคับใช้มาตั้งแต่ ค.ศ. 1876<ref name="edu"/> การจัดการศึกษาในประเทศตองงาตองกาอยู่ภายใต้การควบคุมของคณะมิชชันนารีกลุ่มต่าง ๆ จนกระทั่งปี ค.ศ. 1882 เมื่อรัฐบาลเข้าบริหารระบบการจัดการศึกษาเอง อย่างไรก็ตามคณะมิชชันนารีกลุ่มต่าง ๆ ได้รับอนุญาตให้เปิดโรงเรียนอีกครั้งในปี ค.ศ. 1906<ref>{{cite web |url=http://www.nationsencyclopedia.com/Asia-and-Oceania/Tonga-EDUCATION.html|publisher=Encyclopedia of Nation|title=Tonga - Education|accessdate=14 March 2014}}</ref> ประเทศตองงาตองกาถือได้ว่าเป็นประเทศที่มีระบบการจัดการศึกษาดีเมื่อเทียบกับกลุ่มประเทศโอเชียเนียด้วยกัน เนื่องจากประชาชนชาวตองงาตองกาส่วนมากรู้หนังสือ โดยรายงานสำมะโนตองงาตองกา ค.ศ. 2011 พบว่าประชาชนชาวตองงาตองการู้หนังสือถึงร้อยละ 98.2 นอกจากนี้ร้อยละ 86 ของประชากรสามารถสื่อสารได้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาตองงาตองกา<ref name="full report"/>
 
ประเทศตองงาตองกาจัดการศึกษาภาคบังคับให้แก่เด็กอายุตั้งแต่ 6 ถึง 14 ปี แบบให้เปล่า ซึ่งต่างจากหลายประเทศในเขตโอเชียเนีย ระบบการศึกษาตองงาตองกาแบ่งระดับชั้นออกเป็น[[ประถมศึกษา]] 6 ชั้น [[มัธยมศึกษา]] 7 ชั้น และระดับอุดมศึกษา<ref name="edu"/> โดยในระดับอุดมศึกษาจะมีทุนให้นักศึกษาชาวตองงาตองกาเรียนต่อต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง [[ออสเตรเลีย]] [[นิวซีแลนด์]] และ[[ญี่ปุ่น]] ซึ่งมีโครงการให้ความช่วยเหลือตองงาตองกาในด้านการศึกษา<ref>{{cite web |url=http://www.unesco.org/education/wef/countryreports/tonga/rapport_1.html|publisher=UNESCO|title=PART I DESCRIPTIVE SECTION|accessdate=14 March 2014}}</ref>
 
=== สาธารณสุข ===
การสาธารณสุขของประเทศตองงาตองกาอยู่ในระดับที่ดีเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศใน[[โอเชียเนีย]]ด้วยกัน อย่างไรก็ตามประชาชนในตองงาตองกายังนิยมการรักษาพยาบาลแบบดั้งเดิมอยู่ ประชาชนจะเข้ารับการรักษาตามแผนปัจจุบันก็เมื่อเห็นว่าเป็นวิธีที่เป็นประโยชน์กับการรักษาพยาบาลของตน ประชาชนชาวตองงาตองกาได้รับสวัสดิการจากรัฐในการรักษาพยาบาลแบบให้เปล่า แต่ต้องชำระค่ายาด้วยตนเอง<ref name="unicef">{{cite web |url=http://www.unicef.org/pacificislands/TONGAN_REPORT.pdf|publisher= unicef|title=Tonga. A Situation Analysis of Children, Women and Youth|accessdate=14 March 2014}}</ref> การสาธารณสุขภาคเอกชนนั้นยังอยู่ในวงแคบและเป็นธุรกิจขนาดเล็ก ผู้ดำเนินกิจการส่วนใหญ่เป็นแพทย์แผนโบราณและแพทย์แผนปัจจุบันที่ดำเนินกิจการหลังเสร็จสิ้นการทำงาน<ref name="who report">{{cite web |url=http://www.wpro.who.int/health_information_evidence/documents/CHIPS2011.pdf|publisher= World Health Organization|title=Western Pacific Country Health Information Profiles: 2011 Revision |accessdate=14 March 2014}}</ref> นอกจากนี้ในประเทศตองงาตองกายังมีระบบการประกันสุขภาพ แต่ระบบการประกันสุขภาพนี้ครอบคลุมเฉพาะข้าราชการ<ref name="who report"/>
 
รัฐบาลตองงาตองกาแบ่งเกาะต่าง ๆ ของประเทศออกเป็น 4 ส่วนในการบริหารงานด้านสาธารณสุข ตองงาตองกามีโรงพยาบาล 4 แห่ง โดยโรงพยาบาลไวโอลาในกรุง[[นูกูอาโลฟา]] เมืองหลวงของประเทศ เป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศ (199 เตียง) โดยเป็นโรงพยาบาลที่รองรับการรักษาพยาบาลขั้นสูง<ref name="unicef"/> อย่างไรก็ตามการรักษาพยาบาลที่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีระดับสูงมากนิยมส่งไปรักษาต่อใน[[ประเทศนิวซีแลนด์]]โดย Medical Transfer Board เป็นผู้อนุมัติ<ref name="who report"/> สำหรับโรงพยาบาลอีก 3 แห่งตั้งอยู่ที่[[เออัว]] [[ฮาอะไป]]และ[[วาวาอู]] ส่วนใน[[นีอูอาส]]ไม่มีโรงพยาบาล แต่มีศูนย์การแพทย์ของรัฐบาลรองรับการรักษาพยาบาลในบริเวณนี้<ref name="unicef"/> ใน ค.ศ. 2010 ประเทศตองงาตองกามี[[แพทย์]] 58 คน [[พยาบาล]] 379 คนและ[[ทันตแพทย์]] 10 คน<ref name="who report"/>
 
== ประชากร ==
จากสำมะโนครั้งล่าสุดในปี ค.ศ. 2011 ตองงาตองกามีประชากร 103,036 คน มีความหนาแน่นของประชากรอยู่ที่ราว 139 คนต่อตารางกิโลเมตร ประชากรของตองงาตองกากระจุกตัวอยู่ในเขตการปกครอง[[โตงาตาปู]] โดยมีประชากรอาศัยอยู่ร้อยละ 73 ของประชากรทั้งประเทศ ในขณะที่เขตการปกครอง[[วาวาอู]] [[ฮาอะไป]] [[เออัว]]และ[[นีอูอาส]]มีประชากรอยู่อาศัยร้อยละ 15, 7, 5 และ 1 ตามลำดับ<ref name="media">{{cite web|url=http://unstats.un.org/unsd/demographic/sources/census/2010_PHC/Tonga/release.pdf|title=Tonga National Population Census 2011; Preliminary Count |publisher=Statistics Department|accessdate=2 February 2014}}</ref> ประชากรตองงาตองกาบางส่วนเดินทางออกนอกประเทศเพื่อทำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน[[นิวซีแลนด์]] [[ออสเตรเลีย]]และ[[สหรัฐอเมริกา]]<ref>{{cite web|url=http://www.fao.org/docrep/field/009/an477e/an477e00.pdf|title=MIGRATION, REMITTANCE AND DEVELOPMENT TONGA|publisher=FOOD AND AGRICULTURE ORGANIZATION OF THE UNITED NATIONS |accessdate=2 February 2014}}</ref> ประชากรตองงาตองกาในประเทศส่วนมากเป็นชาวตองงาตองกา โดยมีสัดส่วนประชากรร้อยละ 96.5 ที่เหลือเป็นลูกครึ่งชาวตองงาตองกา ชาวยุโรป ชาวฟีจี ชาวฟีจีอินเดีย ชาวจีนและอื่น ๆ ประชากรที่มีเชื้อสายอื่นส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน[[นูกูอาโลฟา]] ขณะที่เขตการปกครอง[[โอโงนีอูอา]]มีประชากรเชื้อสายอื่นอาศัยอยู่น้อยมาก คือ 12 คนจาก 1,282 คน<ref name="full report">{{cite web|url=http://www.spc.int/prism/tonga/index.php/component/docman/doc_download/247-census-report-2011-vol-1-rev?Itemid=111|title=Census Report 2011 Vol.1 rev.|publisher=Tonga Department of Statistics|accessdate=2 February 2014}}</ref>
 
ประชากรตองงาตองกามีอายุคาดหมายเฉลี่ยประมาณ 75.60 ปี นับเป็นประเทศที่มีประชากรอายุยืนยาวในระดับปานกลาง คิดเป็นอันดับที่ 90 ของโลก<ref>{{cite web|url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/rankorder/2102rank.html|title=COUNTRY COMPARISON :: LIFE EXPECTANCY AT BIRTH|publisher=The World Factbook|accessdate=2 February 2014}}</ref> มีอัตราการเกิดที่ 24.12 คนต่อประชากรหนึ่งพันคน<ref>{{cite web|url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/rankorder/2054rank.html|title=COUNTRY COMPARISON :: BIRTH RATE|publisher=The World Factbook|accessdate=2 February 2014}}</ref> มีอัตราการตาย 4.87 คนต่อประชากรหนึ่งพันคน<ref>{{cite web|url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/rankorder/2066rank.html|title=COUNTRY COMPARISON :: DEATH RATE|publisher=The World Factbook|accessdate=2 February 2014}}</ref> และมีอัตราการเพิ่มประชากรอยู่ที่ร้อยละ 0.14<ref>{{cite web|url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/rankorder/2002rank.html|title=COUNTRY COMPARISON :: POPULATION GROWTH RATE|publisher=The World Factbook|accessdate=2 February 2014}}</ref>
 
=== จำนวนประชากร ===
{{เมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศตองงาตองกา}}
 
=== ภาษา ===
[[ไฟล์:Pasilika Tonga.jpg|thumbnail|200px|อาสนวิหารคาทอลิกในกรุงนูกูอาโลฟา]]
ประชากรตองงาตองกาใช้[[ภาษาตองงาตองกา]]เป็นภาษาหลักประจำชาติ<ref name="sat"/> ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับ[[ภาษานีวเว]]อย่างมาก<ref name="et">{{cite web|url=http://www.ethnologue.com/language/ton|title=A language of Tonga|publisher=ethnologue|accessdate=2 February 2014}}</ref> ประชากรของตองงาตองกาทางตอนเหนือจะพูดภาษาตองงาตองกาต่างสำเนียงกับประชากรทางตอนใต้<ref name="et"/> นอกจากนี้ประชากรตองงาตองกาส่วนใหญ่สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร<ref>{{cite web|url=http://www.thekingdomoftonga.com/about/|title=About Tonga|publisher=thekingdomoftonga|accessdate=2 February 2014}}</ref> ทั้งนี้เนื่องจากเอกสารราชการส่วนใหญ่ตีพิมพ์เป็นภาษาตองงาตองกาและภาษาอังกฤษ<ref name="sat"/>
[[ไฟล์:Kiekie2.jpg|thumbnail|left|200px|ผู้หญิงชาวตองงาตองกา]]
 
=== สาธารณสุข ===
ประชากรตองงาตองกากว่าร้อยละ 90 มีน้ำหนักเกินกว่าค่ามาตรฐานตามการคำนวณ[[ดัชนีมวลกาย]] โดยประชากรร้อยละ 60 ของประเทศเป็น[[โรคอ้วน]]<ref>Sands, Neil (10 April 2011) [http://newsinfo.inquirer.net/breakingnews/world/view/20110410-330400/Pacific-nations-battle-obesity-epidemic "Pacific island nations battle obesity epidemic"], Agence France-Presse.</ref> เมื่อพิจารณาเฉพาะประชากรผู้หญิง พบว่าประชากรหญิงชาวตองงาตองกาช่วงอายุระหว่าง 15-85 ปีเป็นโรคอ้วนถึงร้อยละ 70 ประเทศตองงาตองกาและ[[ประเทศนาอูรู]]เป็นประเทศที่มีประชากรน้ำหนักเกินและโรคอ้วนมากที่สุดในโลก<ref>Mark Henderson (February 18, 2008) [http://www.transitionpenwith.org.uk/news/04-08-08/welcome-town-will-make-you-lose-weight Welcome to the town that will make you lose weight]. ''transitionpenwith''. www.transitionpenwith.org.uk</ref>
 
=== ศาสนา ===
ประชากรชาวตองงาตองกาส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์[[นิกายโปรเตสแตนต์]] โดยมีประชากรชาวตองงาตองกานับถือร้อยละ 64.9<ref name="gov"/> ในนิกายโปรเตสแตนต์นั้นส่วนใหญ่แล้วนับถือ Free Wesleyan Church<ref name="full report"/> รองลงมาคือ Free Church of Tonga<ref name="gov"/> นิกายอื่นในศาสนาคริสต์ที่มีการนับถือรองลงมาคือ[[มอร์มอน]] ร้อยละ 16.8 [[โรมันคาทอลิก]] ร้อยละ 15.6 ศาสนาอื่น ๆ ร้อยละ 1.1 และพบว่ามีประชากรร้อยละ 0.03 ที่[[อศาสนา|ไม่นับถือศาสนา]]<ref name="gov"/>
 
== วัฒนธรรม ==
[[ไฟล์:ʻotuhaka.jpg|200px|การเต้นรำโอตูฮากา|thumbnail]]
สังคมตองงาตองกามีการแบ่ง[[ชนชั้นทางสังคม|ชนชั้น]]ตั้งแต่โบราณจนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ตามการแบ่งชนชั้นในสังคมตองงาตองกาเริ่มลดลงหลังมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปัจจุบัน<ref name="tonga society">Helen Morton, Helen Morton Lee Becoming Tongan: an ethnography of childhood. - University of Hawaii, 1996. - C. 23. - 343 c. - ISBN 0-8248-1795-8</ref> ในสังคมตองงาตองกาแบ่งผู้คนออกเป็นสามกลุ่ม กลุ่มแรกเป็นกลุ่มเชื้อพระวงศ์และชนชั้นสูงซึ่งเป็นชนชั้นนำของสังคม กลุ่มที่สองเป็นกลุ่มของนักบวชและชนชั้นนำอื่น ๆ ส่วนกลุ่มที่สามเป็นกลุ่มสามัญชน สถานภาพของบุคลในตองงาตองกาตามโครงสร้างทางสังคมและครอบครัวนั้นขึ้นอยู่กับสถานะและอำนาจของบุคคลนั้น เพศและอายุมีส่วนในการจัดโครงสร้างชนชั้นด้วย โดยทั่วไปเพศหญิงมีสถานภาพสูงกว่าผู้ชาย<ref name="tongan culture">{{cite web|url=http://www.everyculture.com/To-Z/Tonga.html|title=Culture of Tonga|publisher=everyculture|accessdate=8 March 2014}}</ref> อย่างไรก็ตาม ชายเป็นเจ้าของที่ดินและสามารถส่งต่อบรรดาศักดิ์ของตนแก่บุตรหลานที่เป็นชายได้<ref name="tonga society"/>
 
=== ดนตรี ===
[[ไฟล์:Lali-Suva-Fiji.jpg|200px|thumbnail|กลองลาลี]]
ข้อมูลเกี่ยวกับดนตรีและเครื่องดนตรีพื้นเมืองของตองงาตองกาช่วงก่อนมีการติดต่อกับชาวตะวันตกนั้นมีอยู่น้อยมาก อย่างไรก็ตามกัปตันเจมส์ คุก และวิลเลียม มาริเนอร์ ได้บันทึกเกี่ยวกับดนตรีและเพลงของตองงาตองกาไว้<ref>{{cite web|url=http://teachtonga.com/Tonga%20Islander.doc |title=Tonga Islander’s Choral Music: Historical Perspectives |publisher=James Noxon|accessdate=8 March 2014}}</ref> เครื่องดนตรีตองงาตองกาส่วนใหญ่เป็นประเภทเครื่องกระทบ<ref name="tonga music">{{cite web|url=http://hmcs.scu.edu.au/musicarchive/TonganInstruments.html|title=Tongan Musical Instruments|publisher=hmcs.scu|accessdate=8 March 2014}}</ref> เครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องกระทบที่สำคัญของตองงาตองกา เช่น กลองนาฟาซึ่งทำจากไม้ ตาฟูอาซึ่งทำจากไม้ไผ่และอูเตเตซึ่งมีลักษณะคล้ายกับพิณ เป็นต้น นอกจากกลุ่มนี้แล้ว เครื่องดนตรีพื้นเมืองของตองงาตองกายังมีทั้งกลุ่มเครื่องสายและกลุ่มเครื่องลม<ref name="tonga music"/> อย่างไรก็ตาม เครื่องดนตรีในกลุ่มเครื่องหนังนั้นเพิ่งเข้ามาแพร่หลายในตองงาตองกาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยนำเข้าจากซามัว พร้อมกับการเต้นมาอูลูอูลู<ref name="tonga music"/> ปัจจุบันดนตรีและบทเพลงของตองงาตองกาได้รับอิทธิพลจากดนตรีของยุโรปและแคริบเบียน โดยนำดนตรีที่ได้รับอิทธิพลจากภูมิภาคอื่นเหล่านี้มาใช้ร่วมกับดนตรีพื้นเมืองและบทเพลงพื้นเมือง<ref>Fortune Brij V. Lal Kate. The Pacific Islands: an encyclopedia. - University Press of Hawaii, 2000. - C. 506. - 664 c. ISBN 0-8248-2265-X</ref>
[[ไฟล์:Lakalaka.jpg|thumbnail|200px|left|การเต้นรำลากาลากา]]
 
=== การเต้นรำ ===
การเต้นรำของตองงาตองกาได้รับการอนุรักษ์และสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน การเต้นรำที่ขึ้นชื่อที่สุดของตองงาตองกาในปัจจุบันคือการเต้น[[เมเอตูอูปากี]] ซึ่งเป็นการเต้นรำที่ใช้ผู้ชายแสดงเท่านั้น โดยใช้เครื่องดนตรีประกอบการแสดง 3 ชิ้น คือ กลอง อูเตเตและ Ratchet โดยมีผู้ชายและผู้หญิงที่นั่งอยู่ด้านหน้าผู้เต้นเป็นผู้ร้องสนับสนุน ในอดีตการเต้นเมเอตูอูปากีจะเต้นในโอกาสการเฉลิมฉลองระดับชาติเท่านั้น แต่ในปัจจุบันมีการจัดแสดงเมเอตูอูปากีตามหมู่บ้านต่าง ๆ บ่อยครั้ง<ref name="dance"> Elizabeth May, Mantle Hood. Songs from many cultures: an introduction. - University of California Press, 1983. - C. 141. - 434 c. - ISBN 0-520-04778-8</ref> นอกจากนี้ยังมีการเต้นรำอีกแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า[[โอตูฮากา]] ที่ใช้นักแสดงทั้งชายและหญิง การแสดงประเภทนี้เป็นการแสดงที่ใช้มือประกอบการแสดงบ่อยมาก<ref name="dance"/> เครื่องดนตรีที่นิยมใช้ประกอบการแสดงคือเครื่องดนตรีตะวันตกผสมผสานกับเครื่องดนตรีพื้นเมือง โดยเครื่องดนตรีตะวันตกที่นำมาใช้คือ[[กีตาร์]] ในขณะที่ตาฟูอาเป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองที่ใช้ประกอบการแสดง<ref>Mervyn McLean. Weavers of Song: Polynesian Music and Dance. - Auckland University Press, 1999. - C. 135. - 556 c. - ISBN 1-86940-212-X</ref>
 
การเต้นรำอีกประเภทหนึ่งของตองงาตองกาที่มีชื่อเสียงมากและได้รับการยกย่องจาก[[ยูเนสโก]]ให้เป็น[[มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้]]ในปี ค.ศ. 2013 คือ[[ลากาลากา]] โดยการเต้นรำประเภทนี้ถือได้ว่าเป็นนาฏศิลป์ประจำชาติของประเทศตองงาตองกา การเต้นรำลากาลากาเป็นการเต้นรำที่ใช้ทั้งการเต้น การพูด การใช้เสียงและเครื่องดนตรี การเต้นลากาลากาจะใช้ผู้แสดงประมาณ 100 คน ผสมผสานกันทั้งชายและหญิง ชายจะแสดงท่าทางที่มีพลัง ขณะที่หญิงจะแสดงท่าทางที่สวยงาม<ref>{{cite web|url=http://www.unesco.org/culture/ich/index.php?lg=en&pg=00011&RL=00072|title=Lakalaka, dances and sung speeches of Tonga|publisher=UNESCO|accessdate=8 March 2014}}</ref>
[[ไฟล์:Otai.jpg|left|thumbnail|200px|โอไต เครื่องดื่มพื้นเมืองของตองงาตองกา]]
 
=== อาหารและเครื่องดื่ม ===
ชาวตองงาตองกาสมัยก่อนนิยมรับประทานผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรเป็นอาหารหลัก อันได้แก่ มันเทศ กล้วย มะพร้าว และผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรอื่น ๆ ผลิตภัณฑ์จากทะเลก็สำคัญเนื่องจากสามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น ชาวตองงาตองกาสมัยโบราณนิยมบริโภคปลาและสัตว์จำพวกหอย โดยที่ปลาต้องผ่านกรรมวิธีการอบความร้อนก่อน ขณะที่สัตว์จำพวกหอยชาวตองงาตองกาสมัยโบราณนิยมบริโภคแบบดิบ นิยมบริโภคน้ำ[[กะทิ]]เป็นเครื่องดื่ม นอกจากนี้ยังพบหลักฐานการเลี้ยง[[สุกร]]ในครัวเรือนชาวตองงาตองกาสมัยโบราณอีกด้วย<ref name="culture">Helen Morton, Helen Morton Lee Becoming Tongan: an ethnography of childhood. - University of Hawaii, 1996. - C. 23. - 343 c. - [[ISBN 0-8248-1795-8]]</ref>
 
หลังชาวยุโรปเข้ามา ชาวยุโรปได้นำพืชต่างถิ่นเข้ามาในตองงาตองกาส่งผลให้อาหารและเครื่องดื่มของตองงาตองกาในยุคหลังได้รับอิทธิพลมาจากพืชเหล่านั้น โดยพืชที่ชาวยุโรปนำเข้ามาในตองงาตองกาคือ [[หัวหอม]] [[กะหล่ำปลี]] [[แคร์รอต]] [[มะเขือเทศ]] [[ส้ม]] [[มะนาว]] [[ยักกา]] รวมไปถึง[[แตงโม]]<ref name="kava">{{cite web|url=http://www.everyculture.com/To-Z/Tonga.html|title=Culture of Tonga|publisher=Advameg, Inc.|accessdate=8 March 2014}}</ref> แตงโมกลายเป็นหนึ่งในพืชที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในประเทศตองงาตองกา เนื่องจากแตงโมเป็นวัตถุดิบสำคัญในการทำเครื่องดื่มของตองงาตองกาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดอย่างหนึ่งคือ[[โอไต]] ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่มีแตงโมและ[[มะพร้าว]]เป็นส่วนประกอบ บางครั้งมีการนำ[[มะม่วง]]หรือ[[สับปะรด]]เป็นวัตถุดิบด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.tarasmulticulturaltable.com/otai-tongan-watermelon-drink/|title=‘Otai (Tongan Watermelon Drink)|publisher=Tara's Multicultural Table|accessdate=8 March 2014}}</ref> ชาวตองงาตองกานอกจากจะนำพืชที่ชาวยุโรปนำเข้ามาทำเป็นเครื่องดื่มแล้ว ยังนำพืชนั้นมาปรุงเป็นอาหารพื้นเมืองด้วย ยกตัวอย่างเช่น ''ลูปูลู'' ซึ่งนำมะเขือเทศและหัวหอมมาปรุงพืชพื้นเมืองตองงาตองกาและเนื้อจนได้เป็นอาหารที่ได้รับความนิยมในตองงาตองกาอย่างหนึ่ง<ref>{{cite web|url=http://www.food.com/recipe/lu-pulu-209995|title=Lu Pulu|publisher=food.com|accessdate=8 March 2014}}</ref>
 
นอกจากที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ประเทศตองงาตองกายังมีเครื่องดื่มยอดนิยมอีกชนิดหนึ่งที่เรียกว่า ''[[คาวา]]'' โดยคาวานั้นทำมาจากต้นคาวา นิยมใช้ในพิธีการรวมทั้งพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ นอกจากนี้ชาวตองงาตองกานิยมนำคาวามาใช้รักษาโรคและบรรเทาอาการหลากหลาย ซึ่งคาวามีสรรพคุณในการรักษาอาการปวดข้อ วัณโรค หนองในและอาการไข้<ref>พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ และคณะ. ทรัพยากรพืชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 16: พืชให้สารกระตุ้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. 2544. หน้า 140 – 142</ref>
 
=== กีฬา ===
[[ไฟล์:Tonga rugby league 2.jpg|thumbnail|200px|รักบี้ทีมชาติตองงาตองกา (ชุดสีแดง)]]
กีฬาประจำชาติและได้รับความนิยมมากที่สุดในประเทศตองงาตองกา คือ [[รักบี้]]<ref name="sport">{{cite web|url=http://www.virtualoceania.net/tonga/culture/sport.shtml|title=Tonga Sport|publisher=virtualoceania|accessdate=21 March 2014}}</ref> ประเทศตองงาตองกาเข้าร่วมการแข่งขันรักบี้ชิงแชมป์โลกตั้งแต่ปี ค.ศ. 1987 ซึ่งเป็นการจัดชิงแชมป์โลกครั้งแรก<ref>{{cite web|url=http://www.espn.co.uk/2011-rugby-world-cup/rugby/series/18033.html|title=IRB Rugby World Cup 1987|publisher=ESPN|accessdate=21 March 2014}}</ref> การแข่งขันที่ตองงาตองกาประสบความสำเร็จมากที่สุดคือการแข่งขันรักบี้ชิงแชมป์โลกในปี ค.ศ. 2007 และ ค.ศ. 2011 ซึ่งสามารถจบในอันดับที่ดีพอที่จะเข้าแข่งขันในครั้งต่อไปโดยอัตโนมัติ<ref name="sport"/>
 
ด้านกีฬา[[ฟุตบอล]] ประเทศตองงาตองกาเป็นสมาชิกของ[[สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ]]และ[[สมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย]]ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1994<ref name="FIFA">{{cite web|url=http://www.fifa.com/associations/association=tga/index.html|title=Tonga on FIFA.com|publisher=FIFA|accessdate=21 March 2014}}</ref> [[ฟุตบอลทีมชาติตองงาตองกา]]เข้าแข่งขันระดับนานาชาติครั้งแรกในเซาธ์แปซิฟิกเกมส์ โดยการแข่งขั้นในครั้งแรกนั้นพบกับ[[ฟุตบอลทีมชาติตาฮีตี]] ซึ่งฟุตบอลทีมชาติตองงาตองกาแพ้ 8–0<ref>{{cite web|url=http://www.11v11.com/teams/tonga/tab/matches/season/1980|title=Tonga national football team 'A' international record: 1980|publisher=11v11|accessdate=21 March 2014}}</ref> ผลการแข่งขันที่แย่ที่สุดของฟุตบอลทีมชาติตองงาตองกาคือการแพ้ต่อ[[ฟุตบอลทีมชาติออสเตรเลีย]] 22–0 ในปี ค.ศ. 2001<ref>{{cite web|url=http://www.11v11.com/teams/tonga/tab/matches/season/2001|title=Tonga national football team 'A' international record: 2001|publisher=11v11|accessdate=21 March 2014}}</ref> ส่วนผลการแข่งขันที่ดีที่สุดของฟุตบอลทีมชาติตองงาตองกาคือการชนะ[[ฟุตบอลทีมชาติไมโครนีเซีย]] 7 –0 ในปี ค.ศ. 2003<ref>{{cite web|url=http://www.11v11.com/teams/tonga/tab/matches/season/2004|title=Tonga national football team 'A' international record: 2004|publisher=11v11|accessdate=21 March 2014}}</ref>
 
คณะกรรมการโอลิมปิกของประเทศตองงาตองกานั้นก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1963 และได้รับการยอมรับจาก[[คณะกรรมการโอลิมปิกสากล]]ในปี ค.ศ. 1984<ref name="olumpic">{{cite web|url=http://www.olympic.org/tonga|title=Tonga|publisher=Olympic|accessdate=21 March 2014}}</ref> ประเทศตองงาตองกาเข้าร่วมการแข่งขัน[[โอลิมปิกฤดูร้อน]]ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1984<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/sport/olympics/2012/countries/tonga|title=Tonga at the Olympics|publisher=BBC|accessdate=21 March 2014}}</ref> ประเทศตองงาตองกาเคยได้รับ 1 เหรียญรางวัลจากการแข่งขันโอลิมปิกในปี ค.ศ. 1996 ที่[[ลอสแอนเจลิส]] [[สหรัฐอเมริกา]] โดยในครั้งนั้น [[ปาเออา วอฟแฟรม]] นักกีฬามวยสากลสมัครเล่น ได้เหรียญเงิน<ref name="olumpic"/> ส่วนการแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาวนั้น ตองงาตองกาจะเข้าร่วมการแข่งขัน[[โอลิมปิกฤดูหนาว 2014]] ที่เมือง[[โซชิ]] [[ประเทศรัสเซีย]] เป็นครั้งแรก<ref>{{cite web|url=http://www.stuff.co.nz/sport/other-sports/9538868/Ex-rugby-player-secures-Tongan-Winter-Olympics-spot|title=Tongan rugby player earns Winter Olympics spot|publisher= Fairfax NZ News|accessdate=21 March 2014}}</ref>
 
=== วันหยุดราชการ ===
ประเทศตองงาตองกาประกาศให้มีวันหยุดราชการ 10 วัน โดยมีวันหยุดราชการที่มีความเกี่ยวข้องกับประเทศ 6 วันและมีวันหยุดราชการที่เป็นสากลอีก 4 วัน เช่น [[อีสเตอร์|วันอีสเตอร์]]และ[[คริสต์มาส|วันคริสต์มาส]]<ref>{{cite web|url=http://legislation.to/Tonga/DATA/PRIN/1988-051/PublicHolidaysAct.pdf|title=PUBLIC HOLIDAYS ACT|publisher=legislation|accessdate=18 February 2014}}</ref>
{|class="wikitable sortable" style="margin: 1em auto 1em auto;"
! scope=col class="unsortable" |วันที่
บรรทัด 473:
|-
| -
| [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงาตองกา|วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรตองงาตองกา]]
| Birthday of the reigning Sovereign of Tonga
|-
| -
| [[รายพระนามรัชทายาทตองงาตองกา|วันเฉลิมพระชนมพรรษามกุฎราชกุมารแห่งราชอาณาจักรตองงาตองกา]]
| Birthday of the Heir to the Crown of Tonga
|-
บรรทัด 493:
|-
| -
| [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ซึ่งทรงราชย์อยู่เรียงตามระยะครองราชย์|วันเฉลิมฉลองการครองราชย์ของพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรตองงาตองกา]]
| the Anniversary of the Coronation Day of the reigning Sovereign of Tonga
|-
บรรทัด 517:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{sisterlinks|Tonga}}
* [http://www.mfa.go.th/main/contents/files/world-20131022-105250-274241.pdf ข้อมูลตองงาตองกาโดยกระทรวงการต่างประเทศของไทย]
* {{CIA World Factbook link|tn|Tonga}}
* [http://ucblibraries.colorado.edu/govpubs/for/tonga.htm ตองงาตองกา] จาก ''UCB Libraries GovPubs''
* [http://www.touchoftonga.com/book.html หมู่เกาะมิตรภาพ: 1616 ถึง 1900]
* {{dmoz|Regional/Oceania/Tonga}}
* [http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-pacific-16197014 ตองงาตองกา] ข่าวจาก [[BBC]]
* [http://www.ifs.du.edu/ifs/frm_CountryProfile.aspx?Country=TO การคาดการณ์การพัฒนาของตองงาตองกา]
 
; รัฐบาล
* [http://www.mic.gov.to/ กระทรวงสารสนเทศและการสื่อสาร]
* [http://www.pmo.gov.to/ สำนักนายกรัฐมนตรี]
* [http://www.tongaholiday.com สำนักนักท่องเที่ยวตองงาตองกา, กระทรวงการท่องเที่ยว, ราชอาณาจักรตองงาตองกา]
* [https://www.cia.gov/library/publications/world-leaders-1/world-leaders-t/tonga.html หัวหน้ารัฐบาลและคณะรัฐมนตรี]
* [http://www.tongachamber.org หอการค้าและอุตสาหกรรมตองงาตองกา]
* [http://finance.gov.to กระทรวงการคลัง, ราชอาณาจักรตองงาตองกา]
* [http://reservebank.to National Reserve Bank of Tonga, Kingdom of Tonga]
 
บรรทัด 540:
{{โอเชียเนีย}}
{{ประเทศที่มีกษัตริย์เป็นประมุข}}
{{ประเทศตองงาตองกา}}
 
[[หมวดหมู่:ประเทศตองงาตองกา| ]]
[[หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย|ตองงาตองกา]]
[[หมวดหมู่:ประเทศที่เป็นเกาะ|ตองงาตองกา]]
[[หมวดหมู่:ประเทศในเครือจักรภพ|ตองงาตองกา]]
[[หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2513]]
[[หมวดหมู่:อดีตรัฐในอารักขาของอังกฤษ]]