ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัฏจักรของน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Water cycle.png|thumb|400px|ภาพแสดงวัฏจักรของน้ำ]]
 
'''วัฏจักรของน้ำ''' (water cycleH2O) หรือชื่อในทางวิทยาศาสตร์ว่า '''วัฏจักรของอุทกวิทยา''' (hydrologic cycle) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงสถานะของ[[น้ำ]]ระหว่าง [[ของเหลว]] [[ของแข็ง]] และ [[ก๊าซ]]. ในวัฏจักรของน้ำนี้ น้ำจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะไปกลับ จากสถานะหนึ่งไปยังอีกสถานะหนึ่ง อย่างต่อเนื่อง ไม่มีสิ้นสุด ภายใน[[อาณาจักรของน้ำ]] (hydrosphere) เช่น การเปลี่ยนแปลงระหว่าง ชั้นบรรยากาศ น้ำพื้นผิวดิน ผิวน้ำ น้ำใต้ดิน และ พืช. กระบวนการเปลี่ยนแปลงนี้ สามารถแยกได้เป็น 4 ประเภทคือ การระเหยเป็นไอ (evaporation) , หยาดน้ำฟ้า (precipitation) , การซึม (infiltration) , และ การเกิดน้ำท่า (runoff).
 
* '''การระเหยเป็นไอ''' (evaporation) เป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ำบนพื้นผิวไปสู่บรรยากาศ ทั้ง[[การระเหย]]เป็นไอ (evaporation) โดยตรง และจาก[[การคายน้ำของพืช]] (transpiration) ซึ่งเรียกว่า evapotranspiration
 
* '''หยาดน้ำฟ้า''' (precipitation) เป็นการตกลงมาของน้ำในบรรยากาศสู่พื้นผิวโลก โดยละอองลอองน้ำในบรรยากาศจะรวมตัวกันเป็นก้อน[[เมฆ]] และในที่สุดกลั่นตัวเป็น[[ฝน]]ตกลงสู่ผิวโลก รวมถึง [[หิมะ]] และ [[ลูกเห็บ]]
 
* '''การซึม''' (infiltration) จากน้ำบนพื้นผิวลงสู่ดินเป็นน้ำใต้ดิน อัตราการซึมจะขึ้นอยู่กับประเภทของดิน หิน และ ปัจจัยประกอบอื่นๆ น้ำใต้ดินนั้นจะเคลื่อนตัวช้า และอาจไหลกลับขึ้นบนผิวดิน หรือ อาจถูกกักอยู่ภายใต้ชั้นหินเป็นเวลาหลายพันปี โดยปกติแล้วน้ำใต้ดินจะกลับเป็นน้ำที่ผิวดินบนพื้นที่ที่อยู่ระดับต่ำกว่า ยกเว้นในกรณีของ[[บ่อน้ำบาดาล]]