ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไมเคิล แจ็กสัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
--Titanica-- (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมเนื้อหาอ้างอิง
ป้ายระบุ: เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org
--Titanica-- (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 125:
แจ็กสันให้สัมภาษณ์ในรายการยาว 90 นาทีของ[[โอปราห์ วินฟรีย์]] เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1993 ถือเป็นการสัมภาษณ์ทางโทรทัศน์ครั้งที่ 2 ของเขาตั้งแต่ปี 1979 เขาทำหน้าบูดบึ้งขณะพูดถึงชีวิตที่ถูกทารุณด้วยน้ำมือพ่อของเขาในวัยเด็ก เขาเชื่อว่าเขาพลาดความสนุกสนานในชีวิตวัยเด็ก และยอมรับว่าเขามักจะร้องไห้เมื่อโดดเดี่ยว เขาปฏิเสธข่าวลือจากแท็ปลอยด์ที่ว่าเขาซื้อกระดูกมนุษย์ช้างหรือนอนในตู้ออกซิเจน เขาปฏิเสธข่าวที่เขาฟอกสีผิว และยังพูดครั้งแรกว่าเขาเป็นโรคด่างขาว การสัมภาษณ์ครั้งนี้มีผู้ชมอเมริกันสูงถึง 90 ล้านคน นับเป็นรายการแบบสัมภาษณ์ที่มีผู้ชมมากที่สุดในประวัติศาสตร์อเมริกา และถือเป็นการให้ความรู้เรื่องโรคด่างขาวที่ไม่ค่อยมีใครรู้เท่าไหร่ อัลบั้ม ''เดนเจอรัส'' กลับมาเข้าชาร์ทท็อป 10 อีกครั้ง หลังจากที่ออกขายมากกว่า 1 ปี<ref name = "campbell (1995) 14-16"/><ref name = "lewis 165-168"/><ref name = "Nelson George overview 45-46"/>
 
แจ็กสันได้รับรางวัล "ตำนานที่ยังคงอยู่" ในงานแจกรางวัลแกรมมี่ครั้งที่ 35 ใน[[ลอสแอนเจลิส]] เพลง "Black or White" ถูกเสนอชื่อรางวัลแกรมมี่ในสาขาร้องยอดเยี่ยม ส่วนเพลง "Jam" ถูกเสนอเข้าชิง 2 รางวัลในสาขาแสดงเพลงอาร์แอนด์บียอดเยี่ยมและเพลงอาร์แอนด์บียอดเยี่ยม<ref name = "Nelson George overview 45-46"/> อัลบั้ม''เดนเจอรัส'' ยังได้รับรางวัลแกรมมี่ สาขาบันทึกเสียงยอดเยี่ยม และในปีเดียวกัน แจ็กสันได้รับ 3 รางวัลอเมริกันมิวสิกอวอร์ดส ในสาขาอัลบั้ม/ป็อป ยอดเยี่ยม เพลงโซล/อาร์แอนด์บียอดนิยม จากเพลง "Remember the Time" เขายังเป็นคนแรกที่ได้รับรางวัลศิลปินนานาชาติแห่งความเป็นเลิศสำหรับการแสดงระดับโลกและความอาทรด้านมนุษยธรรมของเขา<ref>https://books.google.co.th/books?id=jw8EAAAAMBAJ&pg=PA12&redir_esc=y#v=onepage&q&f=false</ref> ต่อมาในเดือนพฤษภาคมปีเดียวกัน นับเป็นครั้งแรกและครั้งเดียวที่พิพิธภัณฑ์กินเนสส์เวิลด์เร็กคอร์ดได้เชิญรางวัล Lifetime Achievement Award ให้กับเขาเป็นพิเศษจากสถิติอันเป็นประวัติการณ์อย่างไม่เคยมีมาก่อนในโลกบันเทิง<ref>http://www.gettyimages.com/event/guinness-book-of-records-lifetime-achievement-award-presented-to-michael-jackson-75174126#michael-jackson-during-guinness-book-of-records-lifetime-achievement-picture-id105305626</ref>
 
===1993-94: กรณีข้อกล่าวหาล่วงละเมิดทางเพศกับเด็ก และการแต่งงานครั้งแรก ===
บรรทัด 216:
== แนวเพลงและการแสดง ==
=== ธีมและแนวเพลง ===
สตีฟ ฮิวอีแห่ง[[ออลมิวสิก]] พูดว่า ตลอดการเป็นนักร้องเดี่ยว ความสามารถรอบด้านของเขาทำให้เขาได้ทดลอง[[แนวเพลง]]ที่หลากหลาย<ref name=allmusic/> ในฐานะนักดนตรีแล้ว เขาสามารถทำได้ตั้งแต่เพลงเต้นรำแบบ[[โมทาวน์]]และ[[บัลลาด]] ไปถึงเทคโนและ[[เฮาส์]] [[นิวแจ็กสวิง]] เพื่อนำมารวมกับดนตรีแบบจังหวะเพลง[[ฟังก์]]และกีตาร์[[ฮาร์ดร็อก]]<ref name="rollingstone"/> ตัวเขาเองเคยกล่าวก่อนการออกผลงานชุด ''Off the Wall'' ว่า [[ลิตเทิล ริชาร์ด]] มีอิทธิพลให้กับเขาอย่างมาก<ref>{{cite web|url=http://www.scarborougheveningnews.co.uk/news/39Michael-Jackson-saved-my-life39.5407768.jp|publisher=scarborougheveningnews.co.uk|title=Michael Jackson saved my life|accessdate=June 28, 2009}}</ref>
 
ต่างจากศิลปินอื่น แจ็กสันไม่ได้เขียนเพลงบนกระดาษ เขาจะคอยสั่งการใส่เครื่องบันทึกเสียงแทน เมื่อเริ่มอัดเสียงเขาจะร้องจากความจำ<ref name = "tara 205–210"/><ref name="Thriller cast interview">{{cite web |first=Peter |last=Lyle |url=http://www.telegraph.co.uk/arts/main.jhtml?xml=/arts/2007/11/25/sv_thriller.xml |title=Michael Jackson's Monster Smash |work=[[The Daily Telegraph]] |date=November 25, 2007|accessdate=April 20, 2008}}</ref>ในขณะเมื่อแต่งเพลง เขาจะเริ่มทำเสียง[[บีตบ็อกซ์]]และใช้เสียงตัวเองเป็นเครื่องดนตรีแทนจังหวะมากกว่าใช้อุปกรณ์ <ref>http://www.nme.com/blogs/nme-blogs/the-incredible-way-michael-jackson-wrote-music/</ref> มีนักวิจารณ์หลายคนสังเกตว่า ''Off the Wall'' เป็นงานที่มีทั้ง [[ฟังก์]] [[ดิสโก้]]-[[ป็อป]] [[ดนตรีโซล|โซล]] [[ซอฟต์ร็อก]] [[แจ๊ซ]] และป็อปบัลลาด<ref name=allmusic/><ref name="AMG OTW">{{cite web |first=Stephen Thomas |last=Erlewine|authorlink=Stephen Thomas Erlewine |url=http://www.allmusic.com/cg/amg.dll?p=amg&sql=A7cu1z85ajyv6 |title=Off the Wall Overview |publisher=Allmusic |accessdate=June 15, 2008}}</ref><ref name="RS OTW">{{cite news|first=Stephen |last=Holden |authorlink=Stephen Holden|url=http://www.rollingstone.com/reviews/album/259585/review/6067502/off_the_wall |title=Off the Wall : Michael Jackson |work=Rolling Stone |date=November 1, 1979 |accessdate=July 23, 2008}}</ref> ตัวอย่างเพลงที่โดดเด่นเช่น เพลงบัลลาด ใน "She's out of My Life" และ 2 เพลงในแนว[[ดิสโก้]]อย่าง "Workin' Day and Night" และ "Get on the Floor"<ref name="AMG OTW"/>
บรรทัด 227:
|title=How good is Jackson's Bad? |work=The New York Times |date=September 3, 1987 |accessdate=July 23, 2008}}</ref> ส่วนซิงเกิลแรก "I Just Can't Stop Loving You" เป็นเพลงรักทั่วไปแบบดั้งเดิม ขณะที่เพลง "Man in the Mirror" เป็นเพลงรักเกี่ยวกับการสารภาพรักและความตั้งใจอย่างแน่วแน่<ref name="TIME2"/>"[[Smooth Criminal]]" เป็นเพลงที่พูดถึงการถูกทำร้าย[[การข่มขืน]]และเป็นไปได้ว่าอาจพูดถึง[[ฆาตกรรม]]<ref name="TIME2"/> สตีเฟน โทมัส เออร์เลไวน์ จากออลมิวสิก พูดว่า ''Dangerous'' นำเสนอแจ็กสันในลักษณะตัวตนที่ขัดแย้งกันอย่างสิ้นเชิง<ref name="ALG Dangerous">{{cite web |first=Stephen Thomas |last=Erlewine |authorlink=Stephen Thomas Erlewine |url=http://www.allmusic.com/album/dangerous-r10095 |title=Dangerous Overview |publisher=Allmusic |accessdate=June 15, 2008}}</ref> เขาวิจารณ์ว่า อัลบั้มนี้มีความหลากหลายมากกว่า ''Bad'' อัลบั้มก่อนหน้านี้ ที่ดึงดูดกลุ่มคนในเมืองขณะที่ก็สะดุดหูกับชนชั้นกลาง อย่างเพลง "Heal the World"<ref name="ALG Dangerous"/> ครึ่งแรกของอัลบั้มเป็นแนวนิวแจ็กสวิง มีเพลงอย่าง "Jam" และ "Remember the Time"<ref name="NYT Dangerous"/>และยังถือเป็นอัลบั้มแรกของแจ็กสันที่พูดถึงปัญหาความเจ็บป่วยทางสังคมอย่างเพลง "Why You Wanna Trip on Me" ที่พูดถึงการท้วงต่อโลกแห่งความหิวโหย เอดส์ การไร้ที่อยู่อาศัย และ[[ยาเสพติด]]<ref name="NYT Dangerous">{{cite news|first=Jon |last=Pareles|authorlink=Jon Pareles |url=http://query.nytimes.com/gst/fullpage.html?res=9D0CE2D6143DF937A15752C1A967958260&n=Top%2fReference%2fTimes%20Topics%2fPeople%2fJ%2fJackson%2c%20Michael |title=Michael Jackson in the Electronic Wilderness |work=The New York Times |date=November 24, 1991 |accessdate=July 23, 2008}}</ref> ''Dangerous'' ยังมีเพลงที่พูดถึงในเรื่องทางเพศอย่าง "In the Closet" เพลงรักที่พูดถึงความต้องการและการปฏิเสธ ความเสี่ยงและการข่มอารมณ์ การอยู่โดดเดี่ยวและการติดต่อกัน ความเป็นส่วนตัวและการเปิดเผย<ref name="NYT Dangerous"/> ส่วนเพลงชื่อเดียวกับอัลบั้ม ก็ยังพูดถึงคนรักและความต้องการ<ref name="NYT Dangerous"/> ส่วนครึ่งหลังของอัลบั้มเป็นแนวป็อป-กอสเปล อย่าง "Will You Be There", "Heal the World" และ "Keep the Faith" ซึ่งเพลงเหล่านี้เป็นเพลงที่เปิดเผยที่ปัญหาส่วนตัว การต่อสู้และความกังวล<ref name="NYT Dangerous"/> ส่วนเพลงบัลลาด "Gone Too Soon" เป็นเพลงที่เขาอุทิศให้กับเพื่อนของเขา[[ไรอัน ไวต์]]และผู้ป่วยโรคเอดส์<ref name="TWP Dangerous">{{Cite news | title = Jackson's `Dangerous' Departures; Stylistic Shifts Mar His First Album in 4 Years | work = The Washington Post | date = November 24, 1991 | author = Harrington, Richard |accessdate = July 23, 2008}}</ref>
 
[[ไฟล์:Wiener Prater, Madame Tussauds, Michael Jackson.JPG|thumb|รูปปั้นของไมเคิล แจ็กสันกับชุดแต่งกายที่ปรากฏในมิวสิกวิดีโอเพลง "[[Black or White]]"]]
ในอัลบั้มชุด ''HIStory'' ได้สร้างบรรยากาศแบบหวาดระแวง<ref name="ALG HIStory">{{cite web |first=Stephen Thomas |last=Erlewine |authorlink=Stephen Thomas Erlewine|url=http://www.allmusicguide.com/cg/amg.dll?p=amg&sql=10:rz60tr7qklkx |title=Michael Jackson HIStory Overview |publisher=Allmusic |accessdate=June 15, 2008}}</ref> เนื้อหามุ่งเน้นไปที่การทนทุกข์ทรมานและการดิ้นรนต่อสาธารณะ ที่ลงเนื้อหาในเพลงแนวนิวแจ็กสวิง-ฟังก์-ร็อก อย่าง "Scream" และ "Tabloid Junkie" รวมถึงเพลงอาร์แอนด์บีหวานซึ้งอย่าง "You Are Not Alone" แจ็กสันตอบโต้ต่อความอยุติธรรมและความรู้สึกแปลกแยกที่เขารู้สึก และมุ่งไปที่ความโกรธต่อ[[สื่อมวลชน|สื่อ]]<ref name="RS HIStory">{{cite news|first=James |last=Hunter |url=http://www.rollingstone.com/artists/michaeljackson/albums/album/312830/review/5943497/history_past_present_and_future_book_1
|title=Michael Jackson HIStory |work=Rolling Stone |date=August 10, 1995 |accessdate=July 23, 2008}}</ref> ในเพลงบัลลาดอย่าง "Stranger in Moscow" แจ็กสันโศกเศร้าต่อความไม่เป็นที่โปรดปรานอีกต่อไป ขณะที่เพลงอย่าง "Earth Song", "Childhood", "Little Susie" และ "Smile" ถือเป็นเพลงโอเปราแบบป็อป<ref name="ALG HIStory"/><ref name="RS HIStory"/> ในเพลงที่ชื่อ "D.S." แจ็กสันพูดจู่โจม [[ทอม สเนดดอน]] เขาพูดถึงสเนดดอนว่า เป็นพวกที่เห็นสายเลือดผิวขาวสูงส่งกว่าใคร ๆ "เขาต้องการให้ฉันไม่อยู่หรือตาย" เกี่ยวกับเพลงสเนดดอนพูดว่า "ผมเปล่า— เราพูดหรือเปล่า— ช่วยให้เกียรติเขาหน่อยโดยการฟังเพลง แต่ผมบอกแล้วสุดท้ายก็จบลงด้วยเสียงปืน"<ref name="Sneddon profile">{{cite web |url=http://www.ndaa.org/ndaa/profile/tom_sneddon_jan_feb_2003.html |title=Thomas W. (Tom) Sneddon, Jr.
เส้น 233 ⟶ 232:
 
=== เสียงและสไตล์การร้อง ===
[[ไฟล์:Michael Jackson and Bubbles (porcelain sculpture).jpg|thumb|[[ประติมากรรม]]เคลือบดินเผา ไมเคิล แจ็กสันกับบับเบิ้ล โดยเจฟ คูนส์]]
แจ็กสันเริ่มร้องเพลงตั้งแต่ยังเด็ก เสียงของเขาและแนวทางการร้องเพลงก็เปลี่ยนไปอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะจากเสียงแตกหนุ่มหรือความพอใจส่วนตัวในการตีความต่อแนวเพลงและธีมที่เขาเลือกที่จะแสดงออก ในระหว่างปี 1971 และ 1975 เสียงของแจ็กสันเป็นเสียง[[โซปราโน]]ของเด็กผู้ชายไปทางเสียงเทอเนอร์สูงของเสียงชาย-หญิง<ref name = "brac 414">Brackett, pp. 414</ref>ต้นปี 1973 เขาได้ดัดแปลงเสียงแบบสะอึกเข้าไป โดยได้ยินครั้งแรกจากเพลง "It's Too Late to Change the Time" กับวงแจ็กสันไฟฟ์ ในอัลบั้ม ''G.I.T.: Get It Together''<ref>''The Complete Guide To The Music of Michael Jackson & The Jackson Family'' by Geoff Brown. 164 pages, Omnibus Press</ref> ถึงแม้ว่าแจ็กสันจะไม่ได้ใช้เสียงลักษณะสะอึกอย่างมากมาย แต่ต่อมาผลงานอัลบั้มชุด ''[[ออฟเดอะวอลล์ (อัลบั้ม)|Off the Wall]]'' สามารถพบได้มากในวิดีโอเพลง "Shake Your Body (Down to the Ground)" จุดประสงค์ของการทำเสียงแบบสะอึก เหมือนกับเป็นการกลืนอากาศหรืออ้าปาก เพื่อช่วยเพิ่มอารมณ์ ไม่ว่าจะตื่นเต้น เศร้าหรือ[[กลัว]]<ref name = "Nelson George overview 22"/> และกับผลงานในปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 ชุด ''Off the Wall'' ความสามารถในการร้องของเขาก็เป็นที่เด่นชัด ออลมิวสิกเขียนไว้ว่า "เสียงร้องอันเป็นพรสวรรค์อย่างเป็นที่สุด"<ref name="AMG OTW"/> ขณะที่นิตยสารโรลลิงสโตน เปรียบเทียบเสียงเขากับ[[สตีวี วันเดอร์]]ว่า "ร้องหายใจขัด ร้องตะกุกตะกักแบบเรียบ ๆ" การวิเคราะห์ถึงเสียงร้องว่า "น้ำเสียงของแจ็กสันเป็นเสียงเทเนอร์ที่อ่อนนุ่ม ที่สวยงามมาก ลื่นไปอย่างนุ่มนวลสู่เสียงสูงอย่างน่าตกใจ ใช้ได้อย่างกล้าหาญ"<ref name="RS OTW"/> และในปี 1982 เมื่อออกผลงาน ''Thriller'' นิตยสารโรลลิงสโตนให้ความเห็นการร้องว่า "เสียงผู้ใหญ่เต็มตัว" ที่ "แหลมสูงด้วยความเศร้า"<ref name="RS Thriller"/>
 
ในการออกผลงานชุด "Bad" ในปี 1987 เห็นได้ว่าเสียงร้องนำบนท่อนร้องอย่างกล้าหาญ และโทนที่เบาลงที่ใช้บนท่อนคอรัส<ref name = "Nelson George overview 23"/> การตั้งใจในการออกเสียงผิดของคำว่า "คัมมอน" ({{lang-en|come on}}) ก็ใช้บ่อยที่ออกเสียง เป็นเสียง เชมอน (cha'mone) หรือชามอน (shamone) ที่เป็นส่วนสำคัญในการแสดงออกและเหมือนเป็นภาพลักษณ์ของเขา<ref>{{cite web |first=Rory |last=Lewarne |url=http://www.music-news.com/ShowReview.asp?nReviewID=363&nType=4 |title=Pink Grease |publisher=Music News |date=July 26, 2004 |accessdate=August 10, 2008}}</ref> จนในคริสต์ทศวรรษ 1990 จากการออกผลงานชุด ''Dangerous'' แจ็กสันใช้เสียงร้องเพิ่มขึ้นเพื่อแยกแนวเพลงและธีมของเพลง ''[[นิวยอร์กไทมส์]]'' เขียนไว้เกี่ยวกับบางเพลงว่า "เขากลืนลมเข้าไปกับเสียงร้องที่สั่นและกระตือรือร้น หรือต่ำลงไปเป็นเสียงกระซิบที่สื่อถึงความสิ้นหวัง และยังทำเสียงฟ่อผ่านฟัน นอกจากนี้เขายังมีเสียงโทนเศร้า"<ref name="NYT Dangerous"/> และเมื่อร้องเพลงเกี่ยวกับความเป็นหนึ่งเดียวกันหรือการยกย่องตัวเอง เขาจะร้องเสียงสไตล์ราบเรียบ<ref name="NYT Dangerous"/> ส่วนในเพลง "In the Closet" มีเสียงสูดลมหายใจชัดเจนและออกเสียงชัด ๆ ซ้ำ ๆ 5 ครั้ง แต่ทว่าในเพลงชื่อเดียวกับอัลบั้ม เขายังร้องแร็ปแบบพูด อีกด้วย<ref name = "Nelson George overview 24">George, p. 24</ref><ref name="NYT Dangerous"/> และเมื่อพูดถึงชุด ''Invincible'' นิตยสารโรลลิงสโตนให้ความเห็นว่า "กับอายุ 43 ปี แจ็กสันยังคงร้องมีจังหวะอย่างสวยงามและเสียงร้องสั่นที่ยังกลมกลืนกัน"<ref name="RS Invincible">{{cite web |first=James |last=Hunter |url=http://www.rollingstone.com/artists/michaeljackson/albums/album/301517/review/5945685/invincible |title=Michael Jackson: Invincible |publisher=Rolling Stone |date=December 6, 2001 |accessdate=July 20, 2008}}</ref>
 
โจเซฟ โวเกิล นักวิจารณ์วัฒนธรรมร่วมสมัยตั้งข้อสังเกตว่าแจ็กสันมี มีรูปแบบที่โดดเด่นเฉพาะตัว คือ "ความสามารถของเขาในการถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก โดยไม่ต้องใช้ภาษา ด้วยรูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์อย่าง การคำราม สูดอากาศ การอ้าปากหายใจ สะอื้น หรือการเปล่งเสียง เขามักจะเล่นคำใช้เสียงบางอย่างที่ทำให้ผู้ฟังเแทบจับสังเกตไม่ได้" นีล แมค ยังสังเกตว่า สไตล์การร้องเพลงที่แหกกฎทั่วไปของแจ็กสันมีความเป็นต้นฉบับและโดดเด่นอย่างที่สุด จากเสียงสูงอันเกือบไม่มีตัวตน จนถึงความนุ่มนวล เสียงกลางที่หวาน ทั้งการควบคุมเสียงบนตัวโน๊ตที่รวดเร็ว การระเบิดจังหวะแต่ยังคงความไพเราะเอาไว้ ทั้งการทำเสียงแบบหอนหรือการร้องเยาะเย้ย (อย่างเช่น ฮี่ ฮี่ เพื่อคำรามและครวญคราง) เขามักไม่ได้ร้องเพลงในรูปแบบการใช้เสียงราบเรียบอย่างทั่วไปหรือเพลงบัลลาดอยู่บ่อยๆ แต่เมื่อเขาได้ร้อง ( อย่างเช่นเพลง [[เบ็น (เพลง)|Ben]] หรือ She's out of My Life ) ผลกระทบคือความเรียบง่ายที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง <ref>http://blogs.telegraph.co.uk/culture/neilmccormick/100000966/michael-jackson-bruce-springsteen-bono-great-singing-is-about-more-than-the-notes/</ref> เนลสัน จอร์จ สรุปเสียงของแจ็กสันโดยพูดไว้ว่า
 
"''งดงาม รุกราน คำราม เสียงร้องเด็กผู้ชายที่ดูเป็นธรรมชาติ เสียงสูงเหมือนผู้หญิง ความอ่อนโยน ทั้งหมดรวมกันเป็นองค์ประกอบสไตล์การร้องของเขา''" <ref name = "Nelson George overview 24"/>
บรรทัด 260:
 
[[ไฟล์:Michael-jackson-vector-2.jpg|thumb|[[ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์]]ของ ไมเคิล แจ็กสัน ปี 1993]]
จุดเด่นของเขาคือ "เสียงร้องอันเป็นเอกลักษณ์ ท่าเต้นที่เคลื่อนไหวสะดุดตา ผู้มีความสามารถทางด้านดนตรีอย่างเหลือเชื่อและมีพลังแห่งความเป็นดาราอย่างที่สุด"<ref name=allmusic /> ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ''[[นิตยสารไทม์]]'' กล่าวถึงเขาว่า "ไมเคิล แจ็กสันคือศิลปินที่ยิ่งใหญ่ที่สุดนับตั้งแต่[[เดอะบีทเทิลส์]] เขาเป็นปรากฏการณ์เดี่ยวที่ร้อนแรงที่สุดนับตั้งแต่[[เอลวิส เพรสลีย์]] เขาอาจจะเป็นนักร้องผิวสีที่ได้รับความนิยมมากที่สุดเท่าที่เคยมีมา"<ref name=TIME/> ในปี 1990 ''แวนิตีแฟร์'' พูดถึงแจ็กสันว่า เป็นศิลปินที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในประวัติศาสตร์การแสดง<ref name = "Nelson George overview 43-44"/> นักเขียน''เดลีเทเลกราฟ'' ที่ชื่อทอม อัตลีย์ เรียกเขาว่า "บุคคลที่สำคัญอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ของ[[วัฒนธรรมสมัยนิยม]]" และ "อัจฉริยะ" <ref name=telegraph>{{cite news|url=http://www.telegraph.co.uk/opinion/main.jhtml?xml=/opinion/2003/02/08/do0801.xml&sSheet=/opinion/2003/02/08/ixopinion.html |author=[[Tom Utley|Utley, Tom]] |title=Of course Jackson's odd&nbsp;— but his genius is what matters |publisher=The Daily Telegraph |date=March 8, 2003 |accessdate=July 23, 2008}}</ref>ในปี 2006 หัวหน้ากองบรรณาธิการกินเนสส์บุ๊ค เคร็ก เกล็นเดย์ พูดถึงเขาว่าเป็น "บุคคลที่โด่งดังที่สุดบนโลกอย่างไม่ต้องสงสัย แต่นั่นไม่ใช่แค่ชื่อเสียง มันคือดนตรีของเขา"<ref>http://www.gigiiam.com/michael-jackson-diamond-award-2006.htm</ref> ในปลายปี 2007 แจ็กสันพูดถึงผลงานต่อมาของเขาและอิทธิพลในอนาคตว่า "''ดนตรีเป็นเหมือนที่ระบายคือการปลดปล่อย เป็นของขวัญของผมที่จะมอบให้กับคนทั้งรักทั่วโลก ผ่านดนตรีของผม ผมรู้ว่าผมจะมีชีวิตอยู่ตลอดไป''"<ref>{{cite news |first=Bryan |last=Monroe |title=Michael Jackson in His Own Words |format=Print/Magazine |publisher=[[Ebony]] |date=December 2007}}</ref>
 
แดเนเยล สมิธ หัวหน้าบรรณาธิการนิตยสารอเมริกัน ''Vibe'' และนักข่าวสื่อสิ่งพิมพ์ เรียกแจ็กสันว่าเป็น "ดาราที่ยิ่งใหญ่ที่สุด"<ref>http://edition.cnn.com/2009/SHOWBIZ/Music/06/26/smith.jackson.appreciation/</ref> บัลติมอร์ซัน เขียนบทความ "7 วิธีที่ ไมเคิล แจ็กสันเปลี่ยนโลก" จิลล์ โรเซ็น ตั้งข้อสังเกตว่า "เราจะจดจำเขาได้ หากเขาเป็นเพียงแค่นักแต่งเพลง เป็นแค่นักเต้นรำหรือแค่ผู้สนับสนุนแฟชั่น แต่ไมเคิล แจ็กสัน มีความโดดเด่นเหนือศิลปะเหล่านั้น และอื่นๆอีกมากมาย" อิทธิพลของเขามีความยั่งยืนและแพร่กระจายในหลายแง่มุม ทั้งเสียงเพลง การเต้นรำ แฟชั่น วิดีโอ อิทธิพล ชื่อเสียง หรือแม้แต่ในการแข่งขัน<ref>http://articles.baltimoresun.com/2009-06-28/news/0906260178_1_michael-jackson-jackson-changed-jackson-five</ref> ตลอดระยะเวลานานหลายทศวรรษแจ็กสันเป็นบุคคลที่สื่อมวลชนให้ความสนใจอยู่เสมอ เขามียอดขายนับล้านและข่าวลื่อเกี่ยวกับเขานับล้านเช่นเดียวกัน ในขณะที่ผู้ประกาศข่าว''[[ซีเอ็นเอ็น]]''ยังแสดงความประหลาดใจและกล่าวว่า "ถ้าจะมีใครบนโลกใบนี้ เป็นที่ยอมรับมากไปกว่าเขา บางทีอาจจะไม่มีอีกแล้ว เขาเป็นบุคคลที่โลกไม่อาจละสายตาได้"<ref>http://edition.cnn.com/2009/SHOWBIZ/Music/06/25/michael.jackson.world/</ref>