ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สติปัฏฐาน 4"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tawichwiki (คุย | ส่วนร่วม)
แก้แค่การสะกดผิด อานิสงค์ เป็น อานิสงส์
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''มหาสติปัฏฐาน 4''' เป็นหลักธรรมที่อยู่ใน[[มหาสติปัฏฐานสูตร]]<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=10&A=6257&Z=6764&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 7-7-52</ref> เป็นข้อปฏิบัติเพื่อรู้แจ้ง คือเข้าใจตามเป็นจริงของสิ่งทั้งปวงโดยไม่ถูกกิเลสครอบงำ มหาสติปัฏฐานมี 4 ระดับ คือ[[ กาย]] [[เวทนา]] [[จิต]] และ [[ธรรม]]
 
คำว่าสติปัฏฐานนั้นมาจาก (สร [[ธาตุ]] + ติ [[ปัจจัย]] + ป [[อุปสัคค์]] + ฐา [[ธาตุ]]) แปลว่า สติที่ตั้งมั่น, การหมั่นระลึก, การมีสัมมาสติระลึกรู้นั้นพ้นจากการคิดโดยตั้งใจ แต่เกิดจากจิตจำสภาวะได้ แล้วระลึกรู้โดยอัตโนมัติ โดยคำว่า '''สติ''' หมายถึงความระลึกรู้ เป็น[[เจตสิก]]ประ​เภทหนึ่ง​ ส่วน'''ปัฏฐาน''' ​แปล​ได้​หลายอย่าง​ ​แต่​ใน​ ​[[มหาสติปัฏฐานสูตร]]​ ​และ​ ​[[สติปัฏฐานสูตร]]​ ​หมาย​ถึง​ ​ความตั้งมั่น, ความแน่วแน่, ความมุ่งมั่น
 
โดยรวมคือเข้าไปรู้เห็นในสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ตามมุ่งมองของไตรลักษณ์หรือสามัญลักษณะ โดยไม่มีความยึดติดด้วยอำนาจกิเลสทั้งปวง ได้แก่
บรรทัด 11:
# '''ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน''' - การมีสติระลึกรู้สภาวะธรรมเป็นฐาน ทั้ง[[รูปธรรม]]และ[[นามธรรม]]ล้วนมีความเกิดดับ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา
 
==มติอาจารย์บางพวก ==
 
กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน - การพิจารณารูปขันธ์ อานิสงส์ คือ ทำลายสุภ[[วิปลาส]] (สำคัญความไม่งามว่างาม) เหมาะสมกับนักปฏิบัติที่เป็นตัณหา[[จริต]]ทั้ง 3 คือราคะจริต โทสะจริต โมหะจริต และเป็นสมถยานิก