ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (แพ ติสฺสเทโว)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Donut16 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
|ประสูติ = 22 พฤศจิกายน 2399
|วันบวช = พ.ศ. 2419
|สิ้นพระชนม์ = 26 พฤศจิกายน 2487 ({{อายุปีและวัน|2399|11|22|2487|11|26}})
|พรรษา = 68
|อายุ = 89{{อายุปีและวัน|2399|11|22|2487|11|26}}
|สถิต = [[วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร]]
|จังหวัด = กรุงเทพมหานคร
|สังกัด = [[มหานิกาย]]
|สมณุตตมาภิเษกสถาปนา = [[15 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2481]]
|สถานที่สถาปนา = [[วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร]]
|ตำแหน่ง = สกลมหาสังฆปริณายก
|ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระสังฆราชเจ้าพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า]]
|ถัดไป = [[สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์]]
}}
'''สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช''' (พระนามเดิม '''แพ''' ฉายา '''ติสฺสเทโว)''' เป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]พระองค์ที่ 12 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] สถิต ณ [[วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร]] ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ [[15 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2481]]<ref name="สังฆราช">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2481/A/669.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระวันรัต ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช], เล่ม ๕๕, ตอน ๐ ก, ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๑, หน้า ๖๖๙ </ref> ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร|สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 6 ปี สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ [[26 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2487]] ขณะพระชันษาได้ 89 ปี
 
== พระประวัติ ==
พระองค์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช มีพระนามเดิมว่า'''แพ''' ประสูติในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อวันที่ [[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2399]] เป็นชาวสวนบางลำภูล่าง อำเภอคลองสาน [[จังหวัดธนบุรี]] เมื่อพระชนมายุได้ชนกชื่อนุตร 7 ปี ได้ไปศึกษาอักษรสมัยที่[[วัดทองนพคุณ กรุงเทพมหานคร]] ในสำนักของ[[สมเด็จพระวันรัตน์ชนนีชื่ออ้น (สมบุรณ์)]]สกุล ได้บรรพชาเป็น[[สามเณร]]เมื่อปีพงษ์ปาละ<ref พ.ศ. 2411 อุปสมบทแล้วมาอยู่ที่วัดสุทัศน์ ทรงเข้าแปลname="หน้า7">เรื่องตั้งพระปริยัติธรรมราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ 3เล่ม ครั้ง๒, ได้[[เปรียญธรรมหน้า 5 ประโยค]]7</ref>
 
เมื่อพระชันษาได้ 7 ปี ได้ไปศึกษาอักษรสมัยกับ[[สมเด็จพระวันรัตน์ (สมบุรณ์)]] ขณะยังเป็นเจ้าอาวาส[[วัดทองนพคุณ กรุงเทพมหานคร]] เมื่อสมเด็จพระวันรัตน์ (สมบุรณ์) ย้ายไปครอง[[วัดราชบุรณราชวรวิหาร]] พระองค์ได้ย้ายตามไปด้วย ได้บรรพชาเป็น[[สามเณร]]เมื่อปี พ.ศ. 2411 โดยมีสมเด็จพระวันรัตน์ (สมบุรณ์) เป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อสมเด็จพระวันรัตน์ (สมบุรณ์) ย้ายไปครอง[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]] ก็ให้รับพระองค์ไปอยู่ด้วย ขณะอยู่วัดพระเชุตพนฯ พระองค์ได้ศึกษากับสมเด็จพระวันรัตเป็นหลัก นอกจากนี้ก็ศึกษากับเสมียนตราสุขบ้ง พระโหราธิบดี (ชุ่ม) บ้าง อาจารย์โพบ้าง ได้เข้าสอบครั้งแรกที่[[พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท]]ในปี พ.ศ. 2419 แต่สอบไม่ผ่าน<ref name="หน้า7"/>
 
พ.ศ. 2419 ท่านอายุครบอุปสมบท แต่สมเด็จพระวันรัต (สมบุรณ์) อาพาธ พระองค์อยู่พยาบาลจนกระทั่งท่านมรณภาพ จึงไปฝากตัวเป็นศิษย์[[สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)]] วัดสุทัศนฯ ตามที่สมเด็จพระวันรัต (สมบุรณ์) ฝากฝังไว้ ในปีเถาะ พ.ศ. 2422 จึงได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ วัดเศวตรฉัตร โดยมีสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ แล้วย้ายมาอยู่วัดสุทัศนฯ ศึกษากับสมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน) เป็นหลัก และไปศึกษากับ[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)]] บ้าง เข้าสอบอีกครั้งที่พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาทในปีมะเมีย พ.ศ. 2425 ได้[[เปรียญธรรม 4 ประโยค]] ต่อมาปีระกา พ.ศ. 2428 เข้าสอบที่[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] แปลเพิ่มได้อีก 1 ประโยค เป็น[[เปรียญธรรม 5 ประโยค]]<ref name="หน้า226">เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑, หน้า 226</ref>
 
== ลำดับสมณศักดิ์ ==
* พ.ศ. 2423 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระครูฐานานุกรมในพระธรรมวโรดม (แดง สีลวฑฺฒโน) ในตำแหน่ง''พระครูใบฎีกา พระครูมงคลวิลาส'' และ''พระครูวินัยธร'' ตามลำดับ<ref name="หน้า226"/>
* 13 พฤษภาคม [[พ.ศ. 2432]] ได้รับพระราชทาน[[สมณศักดิ์]]เป็น[[พระราชาคณะ]]ที่ ''พระศรีสมโพธิ'' มีนิตยภัตเดือนละ 4 ตำลึง<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2432/007/62.PDF ตั้งตำแหน่งพระสงฆ์], เล่ม 6, 19 พฤษภาคม 2432, หน้า 63</ref>
* [[พ.ศ. 2439]] ได้เลื่อนสมณศักดิ์ขึ้นเสมอ[[พระราชาคณะชั้นเทพ]]ในพระราชทินนามเดิม<ref name="หน้า226"/>
* [[พ.ศ. 2441]] ได้เป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ที่ ''พระเทพโมลี ตรีปิฎกธรา มหาธรรมกถึกคณฤศร บวรสังฆารามคามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2441/034/351.PDF ตั้งตำแหน่งพระสงฆ์], เล่ม 15, ตอน 34, 20 พฤศิกายน 2441, หน้า 353</ref>
* [[พ.ศ. 2443]] ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นที่ ''[[พระธรรมโกศาจารย์|พระธรรมโกษาจารย์]] สุนทรญาณนายก ตรีปิฎกมุนี มหาคณาธิบดีสมณิศร บวรสังฆารามคามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2443/050/727.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศตั้งตำแหน่งพระสงฆ์], เล่ม 17, หน้า 731</ref>
* [[พ.ศ. 2455]] ได้รับพระราชทานหิรัญบัฏเลื่อนสมณศักดิ์เป็น[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]]คณะกลางที่ ''[[พระพรหมมุนี]]ศรีวิสุทธิญาณ ตรีปิฎกธรรมาลังการวิภูษิต มัชฌิมคณิศร บวรสังฆารามคามวาสี สังฆนายก''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/A/233.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศตั้งพระราชาคณะ], เล่ม 29, ตอน ก, 13 พฤศจิกายน 2455, หน้า 233-5</ref>
* 30 ธันวาคม พ.ศ. 2458 โปรดให้ย้ายมาเป็นเจ้าคณะรองหนใต้<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/D/2826.PDF แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกกรมสังฆการี พระราชทานตราตำแหน่งย้ายเจ้าคณะรอง], เล่ม 32, ตอน 0 ง, วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458, หน้า 2826</ref>
* 14 มีนาคม พ.ศ. 2458 โปรดให้บัญชาคณะมณฑลที่ขึ้นกับคณะใต้แทน[[สมเด็จพระวันรัต (ฑิต อุทโย)]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/D/3170.PDF แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกกรมธรรมการ ย้ายตำแหน่งเจ้าคณะ], เล่ม 32, ตอน 0 ง, 19 มีนาคม 2458, หน้า 3170</ref>
* [[พ.ศ. 2466]] ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น[[สมเด็จพระราชาคณะ]] [[เจ้าคณะใหญ่]]ฝ่าย[[อรัญวาสี]]ที่ ''[[สมเด็จพระพุฒาจารย์]] อเนกสถานปรีชา สัปตวิสุทธิจริยาสมบัติ นิพัทธธุตคุณ ศิริสุนทรพรตจาริก อรัญญิกคณฤศร สมณนิกรมหาปรินายก ตรีปิฎกโกศล วิมลศีลขันธ์ สรรพสมณคุณ วิบุลยประสิทธิ์ บวรสังฆาราม คามวาสี อรัญวาสี มหาสังฆนายก''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2466/D/2587.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศตั้งสมณศักดิ์], เล่ม 40, 25 พฤศจิกายน 2466, หน้า 2591</ref>
* กุมภาพันธ์ [[พ.ศ. 2472]] ได้รับสถาปนาเป็น[[สมเด็จพระราชาคณะ]][[เจ้าคณะใหญ่หนใต้|ทักษิณมหาคณิศวราธิบดี]]ที่ ''[[สมเด็จพระวันรัต]] ปริยัตติพิพัฑฒนพงศ์ วิสุทธสงฆปรินายก ตรีปิฎกโกศล วิมลคัมภีรญาณสุนทร มหาทักษิณคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2472/A/357.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศตั้งสมณศักดิ์], เล่ม 46, 26 กุมภาพันธ์ 2472, หน้า 359-360</ref>
* 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 ได้รับสถาปนาเป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]<ref name="สังฆราช"/>
* 19 กันยายน พ.ศ. 2482 ได้รับเฉลิมพระนามตามสุพรรณบัฏว่า ''[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ]] สุขุมวิธานธำรง สกลสงฆปรินายก ตรีปิฎกกลากุศโลภาส อานันทมหาราชพุทธมามกาจารย์ ติสสเทวภิธานสังฆวิสสุต ปาวจนุตตมโศภน วิมลศีลสมาจารวัตร พุทธศาสนิกบริษัทคารวสถาน วิจิตรปฏิภาณพัฒนคุณ อดุลคัมภีรญาณสุนทร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัญญวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2482/D/1781.PDF ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์], เล่ม 52, 25 กันยายน 2482, หน้า 1783</ref>
 
เมื่อมีพระราชบัญญัติคณะสงฆ์เมื่อปี [[พ.ศ. 2484]] เพื่อประสานนโยบายฝ่ายพุทธจักรและอาณาจักรให้เป็นไปด้วยดี พระองค์ก็ได้บริหารงานคณะสงฆ์ให้ลุล่วงไป โดยแต่งตั้งพระมหาเถรานุเถระในสังฆสภา ให้ดำรงตำแหน่งตามบทบัญญัติ แห่ง พ.ร.บ. คณะสงฆ์ฉบับดังกล่าวโดยครบถ้วนด้วยดีทุกประการ
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = กรมศิลปากร|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 450|หน้า = 7-17}}
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง =สมมอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 428|หน้า = 225-229}}
{{จบอ้างอิง}}
 
 
เส้น 63 ⟶ 76:
{{อายุขัย|2399|2487}}
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์]]
[[หมวดหมู่:เจ้าคณะใหญ่หนใต้]]
[[หมวดหมู่:เจ้าคณะอรัญวาสี]]
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]