ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำประปา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แก้ไขคำผิด
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
 
ก่อกำเนิดประปาในประเทศไทย
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรป 2 ครั้ง มีพระราชดำริว่า กรุงเทพฯ น่าจะมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและใช้ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2440 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกำหนดสุขาภิบาลขึ้น และจัดตั้งกรมสุขาภิบาลด้วย และได้ว่าจ้างช่างผู้ชำนาญการประปาจากฝรั่งเศส ชื่อ นายเดอลาม โฮเตียร์ และ นายแวนเดอไฮเดมาวางแผนการผลิตน้ำประปาซึ่งเขาได้เสนอความคิดหลายแนวทาง เช่น ควรนำน้ำดิบจากแม่น้ำเจ้าพระยามาทำน้ำประปา เพราะสะดวกและไม่ต้องลงทุนมาก ความคิดของทั้งสองคนนี้มีข้อขัดแย้งกันหลายอย่าง ต้องพิจารณากันกลายครั้ง ในที่สุด กระทรวงเกษตราธิการ ที่มีหน้าที่จัดการทดน้ำเพื่อการเพาะปลูก ก็เห็นชอบให้แมื่อน้ำจากแม่น้ำมาผลิต มีการผลิตน้ำสะอาดขึ้นแล้ว ได้โปรดเกล้าฯ ให้เรียก Water Supply ว่า “ ปรฺปาอิอิ “ จากคำภาษาสันสกฤต (หรือ ปฺปา ในภาษาบาลี)
 
ประวัติของการบัญญัติศัพท์คำว่า การประปา นั้น จริง ๆ เคยจำ พระนามผู้บัญญัติได้ แต่นึกไม่ออก สับสนอยู่ว่าเป็นพระองค์ในสองพระองค์(นี่คือข้อเสียของคนแก่ อะไรที่คิดว่าจำได้ แล้วดันไม่จดเอาไว้ พอถึงเวลาจะใช้ดันนึกไม่ออก) ได้พยายามค้นคว้าต่อตามที่สัญญาไว้ก้หาไม่เจอ พบแค่ว่าในยุคแรกก่อนที่จะบัญญัติคำว่าประปาขึ้นใช้ มีการใช้คำอยู ๒ คำ คือ