ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เคมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 5692368 โดย BeckNoDaด้วยสจห.
บรรทัด 1:
'''เคมี''' ({{lang-en|chemistry}}) เป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาในเรื่องของ[[สสาร]] โดยไม่เพียงแต่ศึกษาเฉพาะในเรื่องของ[[ปฏิกิริยาเคมี]] แต่ยังรวมถึงองค์ประกอบ โครงสร้างและคุณสมบัติของ[[สสาร]]อีกด้วย <ref name=definition>{{cite web|url=http://chemweb.ucc.ie/what_is_chemistry.htm |title=What is Chemistry? |publisher=Chemweb.ucc.ie |date= |accessdate=2011-06-12}}</ref><ref>[http://dictionary.reference.com/browse/Chemistry Chemistry]. (n.d.). Merriam-Webster's Medical Dictionary. Retrieved August 19, 2007.</ref> การศึกษาทางด้านเคมีเน้นไปที่[[อะตอม]]และปฏิสัมพันธ์ระหว่างอะตอมกับอะตอม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณสมบัติของ[[พันธะเคมี]]
ยอดเยี่ยม
 
บางครั้ง เคมีถูกเรียกว่าเป็น[[วิทยาศาสตร์ศูนย์กลาง]] เพราะเป็นวิชาช่วยที่เชื่อมโยง[[ฟิสิกส์]]เข้ากับ[[วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ]]สาขาอื่น เช่น [[ธรณีวิทยา]]หรือ[[ชีววิทยา]]<ref>Theodore L. Brown, H. Eugene Lemay, Bruce Edward Bursten, H. Lemay. ''Chemistry: The Central Science''. Prentice Hall; 8 edition (1999). ISBN 0-13-010310-1. Pages 3-4.</ref><ref> Chemistry is seen as occupying an intermediate position in a hierarchy of the sciences by "reductive level" between physics and biology. See Carsten Reinhardt. ''Chemical Sciences in the 20th Century: Bridging Boundaries''. Wiley-VCH, 2001. ISBN 3-527-30271-9. Pages 1-2.</ref> ถึงแม้ว่าเคมีจะถือเป็นสาขาหนึ่งของ[[วิทยาศาสตร์กายภาพ]]แต่ก็มีความแตกต่างจากวิชาฟิสิกส์ค่อนข้างมาก<ref>[http://www.springerlink.com/content/k97523j471763374/ Is chemistry a branch of physics? a paper by Mario Bunge]</ref>
{{ปรับภาษา}}ยอดเยี่ยม[[ไฟล์:Lab bench.jpg|thumb|300px|[[ห้องทดลอง]], สถาบันวิจัยชีวเคมี, [[มหาวิทยาลัยโคโลจญ์]]]]
 
== ยอดเยี่ยม ==
มีการถกเถียงกันอย่างมากมายถึงต้นกำเนิดของเคมี<ref>See: [[Chemistry (etymology)]] for possible origins of this word.</ref> สันนิษฐานว่าเคมีน่าจะมีต้นกำเนิดมาจาก[[การเล่นแร่แปรธาตุ]]ซึ่งเป็นที่นิยมกันมาอย่างยาวนานหลาย[[สหัสวรรษ]]ในหลายส่วนของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน[[ตะวันออกกลาง]]<ref>http://etext.lib.virginia.edu/cgi-local/DHI/dhi.cgi?id=dv1-04</ref>
ยอดเยี่ยม
 
== ทฤษฎี ==
{{ปรับภาษา}}
{{ปรับภาษา}}ยอดเยี่ยม[[ไฟล์:Lab bench.jpg|thumb|300px|[[ห้องทดลอง]], สถาบันวิจัยชีวเคมี, [[มหาวิทยาลัยโคโลจญ์]]]]
โดยทั่วไปเคมีมักเริ่มต้นด้วยการศึกษา[[อนุภาคพื้นฐาน]], [[อะตอม]], [[โมเลกุล]] <ref>^ [http://Matter:%20Atoms%20from%20Democritus%20to%20Dalton Matter: Atoms from Democritus to Dalton] by Anthony Carpi, Ph.D.</ref>แล้วนั้นมักจะเกี่ยวข้องกับสสาร ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารด้วยกันเองหรือปฏิสัมพันธ์ของสสารกับสิ่งที่ไม่ใช่สสารอย่างเช่น[[พลังงาน]] แต่หัวใจสำคัญของเคมีโดยทั่วไปคือการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารเคมีด้วยกันใน[[ปฏิกิริยาเคมี]] โดยสารเคมีนั้นมีการเปลี่ยนรูปไปเป็นสารเคมีอีกชนิดหนึ่ง นี่อาจจะรวมไปถึงการฉาย[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า|รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า]]สู่สารเคมีหรือสารผสม (ใน[[เคมีแสง]]) ในปฏิกิริยาเคมีที่ต้องการแรงกระตุ้นจาก[[แสง]] อย่างไรก็ตาม ปฏิกิริยาเคมีนั้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของเคมีซึ่งศึกษาสสารในด้านอื่นๆ อีกมากมาย ตัวอย่างเช่น นักสเปกโตรสโคปีนั้นจะศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างแสงกับสสารโดยที่ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
 
== ประวัติศาสตร์ ==
วิวัฒนาการของวิชาเคมีแบ่งออกเป็นยุคต่างๆ ดังนี้
 
=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ - ค.ศ. 500 ===
* ชาว[[อียิปต์]]เป็นชนชาติแรกที่รู้จักใช้วิธีการทางเคมี และคำว่า Chemeia มีปรากฏในภาษาอียิปต์
* [[เดโมคริตัส]] (นักปราชญ์ชาว[[กรีก]]) แสดงความคิดเห็นในเรื่องโครงสร้างของสารโดยคิดหาเหตุผลเพียงอย่างเดียว ไม่ได้ทำการทดลองประกอบให้เห็นจริง
* [[อริสโตเติล]] รวบรวมทฤษฎีเกี่ยวกับสสาร โดยสรุปว่า สสารต่างๆ ประกอบขึ้นด้วยธาตุ 4 อย่าง คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ในสัดส่วนที่ต่างกันสำหรับสสารที่ต่างชนิดกัน
 
=== ยุคการเล่นแร่แปรธาตุ ค.ศ. 500 - ค.ศ. 1500 ===
{{main|การเล่นแร่แปรธาตุ}}
* นักเคมีสนใจในเรื่องการเล่นแร่แปรธาตุให้เป็น[[ทองคำ]] แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ประมาณ ค.ศ. 1100
* ความรู้ทางเคมีได้แพร่เข้าสู่[[ยุโรป]] ในปลายยุคนี้นักเคมีล้มเลิกความสนใจการเล่นแร่แปรธาตุ
* เริ่มสนใจค้นคว้าหายาอายุวัฒนะที่ใช้รักษาโรค
 
=== ยุคการเสาะแสวงหายาอายุวัฒนะ (ค.ศ. 1500 - 1600) ===
* เป็นยุค Latrochemistry
* นักเคมีพยายามค้นคว้าหายาอายุวัฒนะและบรรดายารักษาโรคต่างๆ
=== ยุคปัจจุบัน (ค.ศ. 1627 - 1691) ===
* เริ่มต้นจาก [[Robert Boyle]] "ศึกษาเคมีเพื่อเคมี"
* Robert Boyle "ศึกษาเคมีเพื่อความเจริญรุ่งเรืองของเคมีโดยเฉพาะ" และ "ใช้วิธีการทดลองประกอบการศึกษาเพื่อทดสอบความจริงและทฤษฎีต่างๆ"
* เลิกล้มทฤษฎีของ[[อริสโตเติล]]ที่เกี่ยวกับดิน น้ำ ลม ไฟ
* [[อ็องตวน ลาวัวซีเย|ลาวัวซิเยร์]] (ค.ศ. 1743 - 1794) เป็นผู้ริเริ่มเคมียุคปัจจุบัน
* [[สตาฮ์ล]] (Stahl : ค.ศ. 1660 - 1734) ตั้ง[[ทฤษฎีโฟลจิสตัน|ทฤษฎีฟลอจิสตัน]] (Phlogiston Theory)
* [[อ็องตวน ลาวัวซีเย|ลาวัวซิเยร์]] ตั้ง[[ทฤษฎีแห่งการเผาไหม้]]ขึ้น ยังผลให้ทฤษฎีฟลอจิสตันต้องเลิกล้มไป
* [[John Dalton]] (ค.ศ. 1766 - 1844) ตั้ง[[ทฤษฎีอะตอม]] ซึ่งเป็นรากฐานของเคมีสมัยใหม่ แต่ทฤษฎีอะตอมก็ต้องล้มเลิกไป เนื่องจาก[[อะตอม]]ที่แสดงพฤติกรรมได้ทั้งอนุภาคและคลื่น
 
== สาขาวิชาย่อยของวิชาเคมี ==
วิชาเคมีมักแบ่งออกเป็นสาขาย่อยหลัก&nbsp;ๆ ได้หลายสาขา นอกจากนี้ยังมีสาขาทางเคมีที่มีลักษณะที่ข้ามขอบเขตการแบ่งสาขา และบางสาขาก็เป็นสาขาที่เฉพาะทางมาก
 
; [[เคมีวิเคราะห์]] : ''เคมีวิเคราะห์ (Analytical Chemistry)'' คือ[[การวิเคราะห์]]ตัวอย่างสาร เพื่อศึกษา[[สารประกอบ|ส่วนประกอบทางเคมี]]และ[[โครงสร้าง]].
 
; [[ชีวเคมี]] : ''ชีวเคมี (Biochemistry)'' คือการศึกษา[[สารประกอบเคมี|สารเคมี]] [[ปฏิกิริยาเคมี]] และ ปฏิสัมพันธ์ทางเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต
 
; [[เคมีอนินทรีย์]] : ''เคมีอนินทรีย์ (Inorganic Chemistry)'' คือการศึกษาคุณสมบัติและปฏิกิริยาของ[[สารประกอบอนินทรีย์]] อย่างไรก็ตามการแบ่งแยกระหว่างสาขาทางอินทรีย์และสาขาอนินทรีย์นั้น ไม่ชัดเจน และยังมีการเหลื่อมของขอบเขตการศึกษาอยู่มาก เช่นในสาขา [[organometallic chemistry]]
 
; [[เคมีอินทรีย์]] : ''เคมีอินทรีย์(Organic Chemistry)'' คือการศึกษาโครงสร้าง, สมบัติ, ส่วนประกอบ และปฏิกิริยาเคมี ของ[[สารประกอบอินทรีย์]]
 
; [[เคมีฟิสิกส์]] : ''เคมีเชิงฟิสิกส์(Physical Chemistry)'' คือการศึกษารากฐานทางกายภาพของระบบและกระบวนการทางเคมี ตัวอย่างที่เห็นก็เช่น นักเคมีเชิงฟิสิกส์มักสนใจการอธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในเชิงของพลังงาน สาขาที่สำคัญในกลุ่มนี้รวมถึง
# [[เคมีอุณหพลศาสตร์]] (chemical thermodynamics)
# [[เคมีไคเนติกส์]] (chemical kinetics)
# [[เคมีควอนตัม]] (quantum chemistry)
# [[กลศาสตร์สถิติ]] (statistical mechanics)
# [[สเปกโตรสโคปี]] (spectroscopy)
; สาขาอื่นๆ :
* [[เคมีบรรยากาศ]] (Atmospheric chemistry)
* [[เคมีดาราศาสตร์]] (Astrochemistry)
* [[เคมีการคำนวณ]] (Computational chemistry)
* [[เคมีไฟฟ้า]] (Electrochemistry)
* [[เคมีสิ่งแวดล้อม]] (Environmental chemistry)
* [[ธรณีเคมี]] (Geochemistry) ,
* [[วัสดุศาสตร์]] (Materials Science)
* [[เคมีเวชภัณฑ์]] (Medicinal chemistry)
* [[ชีววิทยาโมเลกุล]] (Molecular Biology)
* [[พันธุศาสตร์โมเลกุล]] (Molecular genetics)
* [[เคมีนิวเคลียร์]] (Nuclear chemistry)
* [[ปิโตรเคมี]] (Petrochemistry)
* [[เภสัชวิทยา]] (Pharmacology)
* [[เคมีพอลิเมอร์]] (Polymer chemistry)
* [[โลหะอินทรีย์เคมี]] (Organometallic chemistry)
* [[ซูปราโมเลกุลาร์เคมี]] (Supramolecular chemistry)
* [[เคมีพื้นผิว]] (Surface chemistry)
* [[เคมีความร้อน]] (Thermochemistry)
 
== มโนทัศน์พื้นฐาน ==
=== โมเลกุล ===
โมเลกุลเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสารประกอบบริสุทธิ์ ประกอบด้วยอะตอมตั้งแต่ 2 อะตอมขึ้นสร้างพันธะต่อกัน
 
=== สารละลาย ===
สารละลายอาจเป็นธาตุ สารประกอบ หรือของผสมจากธาตุ หรือสารประกอบมากกว่า 1 ชนิด สสารส่วนใหญ่ที่พบเห็นในชีวิตประจำวันจะอยู่ในรูปของผสม
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
{{สถานีย่อย2|เคมี}}
* [[ตารางธาตุ]]
* [[วิศวกรรมเคมี]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เคมี"