ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณิตศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แทนที่เนื้อหาด้วย ".........................ดกเกเกเกเ คณิตศาสตร์"
บรรทัด 1:
.........................ดกเกเกเกเ
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{Issues|ต้องการอ้างอิง=yes|ตรวจแก้รูปแบบ=yes}}
{{เว็บย่อ|math}}
 
[[ไฟล์:Euclid.jpg|right|thumb|[[ยูคลิด]] (กำลังถือ[[คาลิเปอร์]]) นักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ในสมัย 300 ปีก่อนคริสตกาล ภาพวาดของ[[ราฟาเอล]]ในชื่อ ''[[โรงเรียนแห่งเอเธนส์]]''<ref>No likeness or description of Euclid's physical appearance made during his lifetime survived antiquity. Therefore, Euclid's depiction in works of art depends on the artist's imagination (see ''[[Euclid]]'').</ref>]]
 
'''คณิตศาสตร์''' เป็นศาสตร์ที่มุ่งค้นคว้าเกี่ยวกับ [[โครงสร้างนามธรรม]]ที่ถูกกำหนดขึ้นผ่านทางกลุ่มของ[[สัจพจน์]]ซึ่งมีการให้เหตุผลที่แน่นอนโดยใช้[[ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์]] และ[[สัญกรณ์คณิตศาสตร์]] เรามักนิยามโดยทั่วไปว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ[[รูปแบบ]]และ[[โครงสร้าง]], [[การเปลี่ยนแปลง]] และ[[ปริภูมิ]] กล่าวคร่าว ๆ ได้ว่าคณิตศาสตร์นั้นสนใจ "รูปร่างและจำนวน" เนื่องจากคณิตศาสตร์มิได้สร้างความรู้ผ่านกระบวนการทดลอง บางคนจึงไม่จัดว่าคณิตศาสตร์เป็นสาขาของ[[วิทยาศาสตร์]]
 
ในอดีตผู้คนจะใช้สิ่งของแทนจำนวนที่จะนับยิ่งนานเข้าจำนวนประชากรยิ่งมีมากขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มคิดที่จะประดิษฐ์ตัวเลขขึ้นมาแทนการนับที่ใช้สิ่งของนับแทนจากนั้นก็มีการบวก ลบคูณ และหาร จากนั้นก็ก่อให้เกิดคณิตศาสตร์
 
คำว่า "คณิตศาสตร์" (คำอ่าน: คะ-นิด-ตะ-สาด) มาจากคำว่า ''คณิต'' ([[การนับ]] หรือ [[คำนวณ]]) และ ''ศาสตร์'' ([[ความรู้]] หรือ [[การศึกษา]]) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ. คำนี้ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า ''mathematics'' มาจากคำ[[ภาษากรีก]] ''μάθημα'' (''máthema'') แปลว่า "วิทยาศาสตร์, ความรู้, และการเรียน" และคำว่า ''μαθηματικός'' (''mathematikós'') แปลว่า "รักที่จะเรียนรู้" ในอเมริกาเหนือนิยมย่อ mathematics ว่า ''math'' ส่วนประเทศอื่น ๆ ที่ใช้ภาษาอังกฤษนิยมย่อว่า ''maths''
 
ความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ผ่านทางการวิจัยและการประยุกต์ใช้ คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมืออันหนึ่งของวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ตาม การคิดค้นทางคณิตศาสตร์ไม่จำเป็นต้องมีเป้าหมายอยู่ที่การนำไปใช้ทางวิทยาศาสตร์ (ดู [[คณิตศาสตร์บริสุทธิ์]] และ[[คณิตศาสตร์ประยุกต์]])
 
โครงสร้างต่าง ๆ ที่นักคณิตศาสตร์สนใจและพิจารณานั้น มักจะมีต้นกำเนิดจาก[[วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ]] และ[[สังคมศาสตร์]] โดยเฉพาะ[[ฟิสิกส์]] และ[[เศรษฐศาสตร์]] ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในปัจจุบัน ยังเกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ในสาขา[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] และ[[ทฤษฎีการสื่อสาร]] อีกด้วย
 
เนื่องจากคณิตศาสตร์นั้นใช้[[ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์]]และ[[สัญกรณ์คณิตศาสตร์]] ซึ่งทำให้กิจกรรมทุกอย่างกระทำผ่านทางขั้นตอนที่ชัดเจน เราจึงสามารถพิจารณาคณิตศาสตร์ว่า เป็นระบบภาษาที่เพิ่มความแม่นยำและชัดเจนให้กับภาษาธรรมชาติ ผ่านทางศัพท์และไวยากรณ์บางอย่าง สำหรับการอธิบายและศึกษาความสัมพันธ์ทั้งทางกายภาพและนามธรรม ความหมายของคณิตศาสตร์นั้นยังมีอีกหลายมุมมอง ซึ่งหลายอันถูกกล่าวถึงในบทความเกี่ยวกับปรัชญาของคณิตศาสตร์
 
คณิตศาสตร์ยังถูกจัดว่าเป็นศาสตร์[[สัมบูรณ์]] โดยจำไม่เป็นต้องมีการอ้างถึงใด ๆ จากโลกภายนอก [[นักคณิตศาสตร์]]กำหนดและพิจารณาโครงสร้างบางประเภท สำหรับใช้ในคณิตศาสตร์เองโดยเฉพาะ, เนื่องจากโครงสร้างเหล่านี้ อาจทำให้สามารถอธิบายสาขาย่อย ๆ หลาย ๆ สาขาได้ในภาพรวม หรือเป็นประโยชน์ในการคำนวณพื้นฐาน
 
นอกจากนี้ นักคณิตศาสตร์หลายคนก็ทำงานเพื่อเป้าหมายเชิงสุนทรียภาพเท่านั้น โดยมองว่าคณิตศาสตร์เป็นศาสตร์เชิง[[ศิลปะ]] มากกว่าที่จะเป็นศาสตร์เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ (ดังเช่น [[จี. เอช. ฮาร์ดี]] ที่ได้กล่าวไว้ในหนังสือ ''A Mathematician's Apology'') ; แรงผลักดันในการทำงานเช่นนี้ มีลักษณะไม่ต่างไปจากที่[[กวี]]และ[[นักปรัชญา]]ได้ประสบ และเป็นสิ่งที่ไม่สามารถอธิบายได้. [[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]] กล่าวว่า คณิตศาสตร์เป็นราชินีของวิทยาศาสตร์ ในหนังสือ ''Ideas and Opinions'' ของเขา
 
องค์ความรู้ในคณิตศาสตร์รวมกันเป็น[[สาขาวิชา]] หลักการเบื้องต้นที่เริ่มจาก[[เลขคณิต]]ไปยังการประยุกต์ใช้งานพื้นฐานของสาขาคณิตศาสตร์ ที่รวม[[พีชคณิต]] [[เรขาคณิต]] [[ตรีโกณมิติ]] [[สถิติศาสตร์]] และ[[แคลคูลัส]] เป็น[[หลักสูตรแกน]]ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน แม้ว่าจะได้มีการพัฒนาและขยายขอบเขตไปอย่างมากมายในช่วงเวลาหลายร้อยปี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ยังคงถูกจัดว่าเป็นสาขาวิชาเดี่ยว ที่มีลักษณะแตกต่างจากสาขาอื่น ๆ
 
== ประวัติ ==
 
=== พัฒนาการ ===
[[ภาพ:Kapitolinischer Pythagoras adjusted.jpg|thumb|left|upright|นักคณิตศาสตร์กรีก[[พีทาโกรัส]] (ค.ศ. 570 - ค.ศ. 495 ก่อนคริสต์ศักราช) ได้รับการยกย่องในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการค้นพบ[[ทฤษฎีบทพีทาโกรัส]] (Pythagorean theorem)]]
วิวัฒนาการของคณิตศาสตร์อาจถูกมองว่าเป็นชุดของการเพิ่มขึ้นของ[[ภาวะนามธรรม]]หรืออาจเป็นการขยายตัวของวิชาที่เกี่ยวกับสสาร ภาวะนามธรรมที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกนั้น, มีส่วนเกี่ยวข้องกับสัตว์หลาย ๆ ชนิด, <ref>{{cite journal |author1=S. Dehaene |author2=G. Dehaene-Lambertz |author3=L. Cohen |title=Abstract representations of numbers in the animal and human brain |journal=Trends in Neuroscience |volume=21 |issue=8|date=Aug 1998 |pages=355–361 |doi=10.1016/S0166-2236 (98) 01263-6 |pmid=9720604}}</ref> เป็นความน่าจะเป็นที่เกี่ยวข้องกับ[[จำนวน]]
 
== หัวข้อทางคณิตศาสตร์ ==
รายการด้านล่างนี้ แสดงลักษณะหนึ่งของการแบ่งย่อยของหัวข้อทางคณิตศาสตร์เท่านั้น สำหรับการแบ่งหัวข้อตามนี้ ดู: [[สาขาของคณิตศาสตร์]]
=== ปริมาณ ===
: โดยทั่วไป หัวข้อและแนวคิดเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการวัดขนาดของตัวเลข หรือเซต หรือว่าวิธีการวัดค่าดังกล่าว
 
{| style="border:1px solid #ddd; text-align:center; margin: auto;" cellspacing="20"
| <math>1, 2, 3\, \!</math> || <math>-2, -1, 0, 1, 2\, \!</math> || <math> -2, \frac{2}{3}, 1.21\, \!</math> || <math>-e, \sqrt{2}, 3, \pi\, \!</math> || <math>2, i, -2+3i, 2e^{i\frac{4\pi}{3}}\, \!</math>
|-
| [[จำนวนธรรมชาติ]] || [[จำนวนเต็ม]] || [[จำนวนตรรกยะ]] || [[จำนวนจริง]] || [[จำนวนเชิงซ้อน]]
|}
 
: [[จำนวน]] - [[จำนวนธรรมชาติ]] - [[จำนวนเต็ม]] - [[จำนวนตรรกยะ]] - [[จำนวนจริง]] - [[จำนวนเชิงซ้อน]] - [[จำนวนเชิงพีชคณิต]] - [[ควอเทอร์เนียน]] - [[ออคโทเนียน]] ([[:en:Octonion|Octonion]]s) - [[จำนวนเชิงอันดับที่]] ([[:en:ordinal number|ordinal number]]) - [[จำนวนเชิงการนับ]] - [[ลำดับของจำนวนเต็ม]] - [[ค่าคงที่ทางคณิตศาสตร์]] - [[อนันต์]]
 
=== โครงสร้าง ===
: สาขาเหล่านี้ ศึกษาขนาดและความสมมาตรของจำนวนและวัตถุทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ
 
{| style="border:1px solid #ddd; text-align:center; margin: auto;" cellspacing="15"
| [[ไฟล์:Elliptic curve simple.png|96px]] || [[ไฟล์:Rubik's cube.svg|96px]] || [[ไฟล์:Group diagdram D6.svg|96px]] || [[ไฟล์:Lattice of the divisibility of 60.svg|96px]]
|-
| [[ทฤษฎีจำนวน]] || [[พีชคณิตนามธรรม]] || [[ทฤษฎีกรุป]] || [[ทฤษฎีลำดับ]]
|}
 
: [[พีชคณิตนามธรรม]] - [[ทฤษฎีจำนวน]] - [[ทฤษฎีกรุป]] - [[ทอพอโลยี]] - [[พีชคณิตเชิงเส้น]] - [[ทฤษฎีประเภท]] ([[:en:Category theory|Category theory]]) - [[ทฤษฎีลำดับ]] ([[:en:Order theory|Order theory]])
 
=== ความสัมพันธ์เชิงปริภูมิ ===
: สาขาเหล่านี้ มักใช้วิธีการเชิงรูปภาพมากกว่าในสาขาอื่น ๆ
 
{| style="border:1px solid #ddd; text-align:center; margin: auto;" cellspacing="15"
| [[ไฟล์:Illustration to Euclid's proof of the Pythagorean theorem.svg|96px]] || [[ไฟล์:Sine cosine plot.svg|96px]] || [[ไฟล์:Hyperbolic triangle.svg|96px]] || [[ไฟล์:Torus.png|96px]] || [[ไฟล์:Koch curve.svg|96px]]
|-
| [[เรขาคณิต]] || [[ตรีโกณมิติ]] || [[เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์]] || [[ทอพอโลยี]] || [[เรขาคณิตสาทิสรูป]]
|}
 
: [[ทอพอลอยี]] - [[เรขาคณิต]] - [[ตรีโกณมิติ]] - [[เรขาคณิตเชิงพีชคณิต]] - [[เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์]] - [[ทอพอโลยีเชิงอนุพันธ์]] - [[ทอพอโลยีเชิงพีชคณิต]] - [[พีชคณิตเชิงเส้น]] - [[แฟร็กทัล|เรขาคณิตสาทิสรูป]]
 
=== ความเปลี่ยนแปลง ===
: หัวข้อเหล่านี้ เกี่ยวข้องกับการวัดความเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ และความเปลี่ยนแปลงระหว่างจำนวน
{| style="border:1px solid #ddd; text-align:center; margin: auto;" cellspacing="20"
| [[ไฟล์:Integral as region under curve.svg|96px]] || [[ไฟล์:Vector field.svg|96px]] || [[ไฟล์:Airflow-Obstructed-Duct.png|96px]] || [[ไฟล์:Limitcycle.jpg|96px]] || [[ไฟล์:Lorenz attractor.svg|96px]]
|-
| [[แคลคูลัส]] || [[แคลคูลัสเวกเตอร์]] || [[สมการเชิงอนุพันธ์]] || [[ระบบพลวัติ]] || [[ทฤษฎีความอลวน]]
|}
 
: [[เลขคณิต]] - [[แคลคูลัส]] - [[แคลคูลัสเวกเตอร์]] - [[คณิตวิเคราะห์]] - [[ทฤษฎีการวัด]] - [[การวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน]] - [[การวิเคราะห์เชิงจินตภาพ]] - [[การวิเคราะห์ฟูร์ริเยร์]] - [[สมการเชิงอนุพันธ์]] - [[ระบบพลวัติ]] - [[ทฤษฎีความอลวน]] - [[รายการฟังก์ชัน]]
 
=== พื้นฐานและวิธีการ ===
: หัวข้อเหล่านี้คือแนวทางการเข้าถึงคณิตศาสตร์และมีอิทธิพลต่อวิธีที่นักคณิตศาสตร์ใช้ในการศึกษา
 
{| style="border:1px solid #ddd; text-align:center; margin: auto;" cellspacing="15"
| <math> p \Rightarrow q \, </math> || [[ไฟล์:Venn A intersect B.svg|128px]] || [[ไฟล์:Commutative diagram for morphism.svg|96px]]
|-
| [[ตรรกศาสตร์]] || [[ทฤษฎีเซต]] || [[ทฤษฎีประเภท]] ||
|}
 
: [[ปรัชญาคณิตศาสตร์]] - [[พื้นฐานคณิตศาสตร์]] ([[:en:Foundations of mathematics|Foundations of mathematics]]) - [[ทฤษฎีเซต]] - [[ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์]] - [[ทฤษฎีโมเดล]] - [[ทฤษฎีประเภท]] - [[ตรรกศาสตร์]]
 
=== วิยุตคณิต ===
: [[วิยุตคณิต]] คือแขนงของคณิตศาสตร์ที่สนใจวัตถุที่มีค่าเฉพาะเจาะจงที่แตกต่างกัน
 
{| style="border:1px solid #ddd; text-align:center; margin: auto;" cellspacing="15"
| <math>\begin{matrix} (1, 2, 3) & (1, 3, 2) \\ (2, 1, 3) & (2, 3, 1) \\ (3, 1, 2) & (3, 2, 1) \end{matrix}</math> || [[ไฟล์:DFAexample.svg|96px]] || [[ไฟล์:Caesar3.svg|96px]] || [[ไฟล์:6n-graf.svg|96px]]
|-
| [[คณิตศาสตร์เชิงการจัด]] || [[การคำนวณ|ทฤษฎีการคำนวณ]] || [[วิทยาการเข้ารหัสลับ]] || [[ทฤษฎีกราฟ]]
|}
 
: [[คณิตศาสตร์เชิงการจัด]] - [[การคำนวณ|ทฤษฎีการคำนวณ]] - [[วิทยาการเข้ารหัสลับ]] - [[ทฤษฎีกราฟ]]
 
=== คณิตศาสตร์ประยุกต์ ===
: สาขาใน[[คณิตศาสตร์ประยุกต์]] ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาในโลกของความเป็นจริง
 
<center>
<gallery>
ภาพ:Gravitation space source.png | <center>[[คณิตศาสตร์ฟิสิกส์]]</center>
ภาพ:BernoullisLawDerivationDiagram.png | <center>[[กลศาสตร์ของไหล]]</center>
ภาพ:Composite trapezoidal rule illustration small.png | <center>[[การวิเคราะห์เชิงตัวเลข]]</center>
ภาพ:Maximum boxed.png | <center>[[การหาค่าเหมาะที่สุด]]</center>
ภาพ:Two red dice 01.svg | <center>[[ความน่าจะเป็น]]</center>
ภาพ:Oldfaithful3.png | <center>[[สถิติศาสตร์]]</center>
ภาพ:Market Data Index NYA on 20050726 202628 UTC.png | <center>[[คณิตศาสตร์การเงิน]]</center>
ภาพ:Arbitrary-gametree-solved.png | <center>[[ทฤษฎีเกม]]</center>
ภาพ:Simple feedback control loop2.svg| <center>[[ทฤษฎีระบบควบคุม]]</center>
</gallery>
</center>
 
: [[คณิตศาสตร์ฟิสิกส์]] - [[กลศาสตร์]] - [[กลศาสตร์ของไหล]] - [[การวิเคราะห์เชิงตัวเลข]] - [[การหาค่าเหมาะที่สุด (คณิตศาสตร์)|การหาค่าเหมาะที่สุด]] ([[:en:Optimization (mathematics)|Optimization]]) - [[ความน่าจะเป็น]] - [[สถิติศาสตร์]] - [[คณิตศาสตร์การเงิน]] - [[ทฤษฎีเกม]] - [[คณิตชีววิทยา]] ([[:en:Mathematical biology|Mathematical biology]]) - [[วิทยาการเข้ารหัสลับ]] - [[ทฤษฎีข้อมูล]] - [[ทฤษฎีระบบควบคุม]]
 
=== ทฤษฎีบทที่สำคัญ ===
: ทฤษฎีบทเหล่านี้ เป็นที่สนใจของทั้งนักคณิตศาสตร์และบุคคลทั่วไป
 
: [[ทฤษฎีบทพีทาโกรัส]] - [[ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา]] - [[ทฤษฎีบทความไม่สมบูรณ์ของเกอเดล]] - [[ทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิต]] - [[ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต]] - [[ทฤษฎีบทมูลฐานของแคลคูลัส]] - [[วิธีการแนวทแยงของคันทอร์]] - [[ทฤษฎีบทสี่สี]] - [[บทตั้งของซอน]] ([[:en:Zorn's lemma|Zorn's lemma]]) - [[เอกลักษณ์ของออยเลอร์]] - [[ข้อปัญหาของเชิร์ช-ทัวริง]] - [[ทฤษฎีบทการจำแนกของพื้นผิว]] ([[:en:classification theorems of surfaces|classification theorems of surfaces]]) - [[ทฤษฎีบทเกาส์-โบนเนต์]] ([[:en:Gauss-Bonnet theorem|Gauss-Bonnet theorem]])
 
=== ข้อความคาดการณ์ที่สำคัญ ===
: ปัญหาคณิตศาสตร์ที่ยังไม่มีใครแก้ได้
 
: [[ข้อความคาดการณ์ของโกลด์บาช]] - [[ข้อความคาดการณ์จำนวนเฉพาะคู่แฝด]] - [[สมมติฐานของรีมันน์]] - [[สมมติฐานความต่อเนื่อง]] - [[ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร]] - [[กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี|P=NP?]] - [[ปัญหาของฮิลแบร์ท]]
 
=== ประวัติและโลกของนักคณิตศาสตร์ ===
: [[ประวัติของคณิตศาสตร์]] - [[เส้นเวลาของคณิตศาสตร์]] - [[นักคณิตศาสตร์]] - [[เหรียญฟิลด์ส]] ([[:en:Fields Medal|Fields Medal]]) - [[รางวัลอาเบล]] ([[:en:Abel Prize|Abel Prize]]) - [[ปัญหารางวัลสหัสวรรษ|ปัญหารางวัลสหัสวรรษ (รางวัลเคลย์แมท)]] ([[:en:Millennium Prize Problems|Millennium Prize Problems (Clay Math Prize)]]) - [[สหภาพคณิตศาสตร์นานาชาติ]] ([[:en:International Mathematical Union|International Mathematical Union]]) - [[การแข่งขันคณิตศาสตร์]] - [[การคิดเชิงข้าง]] ([[:en:Lateral thinking|Lateral thinking]]) - [[ประเด็นเกี่ยวกับความสามารถทางคณิตศาสตร์และเพศ]] ([[:en:Mathematical abilities and gender issues|Mathematical abilities and gender issues]])
 
== เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ ==
* [[ลูกคิด]]
* [[กระดูกนาเปียร์]]
* [[ไม้บรรทัด]] และ [[วงเวียน (เครื่องเขียน)|วงเวียน]]
* [[เครื่องคิดเลข]] และ [[คอมพิวเตอร์]]
* [[ภาษาโปรแกรม]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
{{สถานีย่อย2}}
* [[เส้นเวลาของคณิตศาสตร์]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Mathematics|คณิตศาสตร์}}
 
=== ภาษาไทย ===
* [http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?page=main&book=6 คณิตศาสตร์เบื้องต้น] จากสารานุกรมสำหรับเยาวชน
* [http://www.school.net.th/library/f-snet2.htm แหล่งรวมความรู้ด้านคณิตศาสตร์] จาก[[เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย]]
 
=== ภาษาอื่น ===
* [http://eom.springer.de/ สารานุกรมคณิตศาสตร์] {{en}}
* [http://www.math-atlas.org/ The Mathematical Atlas] - แนะนำสาขาต่าง ๆ ของคณิตศาสตร์สมัยใหม่
* [http://planetmath.org/ Planet Math]{{ลิงก์เสีย|date=มีนาคม 2558}} - สารานุกรมคณิตศาสตร์ เน้นคณิตศาสตร์สมัยใหม่
* [http://mathworld.wolfram.com/ MathWorld] - สารานุกรมคณิตศาสตร์ เน้นคณิตศาสตร์ดั้งเดิม
* [http://metamath.org/ Metamath] - อธิบาย และพิสูจน์หลักการทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นเป็นตอน
* [http://www.cut-the-knot.org/ Interactive Mathematics Miscellany and Puzzles] - บทความ และเกมคณิตศาสตร์ เล่นออนไลน์ได้
 
=== ชุมชนไทย ===
* [http://www.mathcenter.net/ ศูนย์กลางคณิตศาสตร์ไทย] - เว็บไซต์สำหรับผู้มีใจรักคณิตศาสตร์
* [http://www.kidlek.com/ เครื่องคิดเลข] - เว็บไซต์สำหรับคำนวณเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
 
{{คณิตศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:คณิตศาสตร์|คณิตศาสตร์]]