ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระแม่คงคา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
{{ต้องการอ้างอิง}} {{กล่องข้อมูล เทวดา | ไฟล์ภาพ = Kalighat Ganga.jpg | คำอธิบายภาพ = พระแม่คงคา
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล เทวดา
| ไฟล์ภาพ = Kalighat Ganga.jpg
| คำอธิบายภาพ = พระแม่คงคา
| พระนาม = พระแม่คงคา
| เทวนาครี =
บรรทัด 8:
| สันสกฤต =
| ปาลี =
| ทมิฬ = கங்கை, இந்து மதம்
| จำพวก = [[เทวี|เทพสตรี]]
| เทวฉายา = สายน้ำคงคา
| เทวฉายา = [[เทวี|เทพสตรี]]ใน[[ศาสนา|คติ]][[ศาสนาฮินดู|ศาสนาพรามณ์-ฮินดู]] เป็น[[เทวี|เทพนารี]]ผู้ดูแลและรักษา[[แม่น้ำคงคา]]ใน[[ประเทศอินเดีย]] และใน[[ศาสนา|คติ]]ความเชื่อของ[[ประเทศไทย]]และเป็น[[เทวี|เทพสตรี]]ผู้รักษา[[แม่น้ำ]] ห้วย หนอง คลอง [[ทะเลสาป|บึง]]
| เทวพาหนะ =
| มนต์ =
| อาวุธ =
| พระชายา =
| พระสวามี = พระศิวะเจ้า
| พระธิดาและพระบุตร = ยมี[[ยมุนา]] ยมา
| เทวพาหนะ = [[ปลา|ปลาใหญ่]], [[จระเข้]], [[มกร]]
| ดาวพระเคราะห์ =
}}
[[ไฟล์:Ganga.jpg|thumb|[[จิตรกรรม]]ถอดแบบจาก[[จิตรกรรม]]โบราณของอินเดียภาคเหนือ ของพระแม่คงคาทรง[[เทววาหนะ]][[มกร]]]]
 
และเป็น'''พระแม่คงคา''' มีพระประวัติในหลายแบบ ตามความเชื่อในแบบแรกพระองค์เกิดจากน้ำในกมัณทลุของกาต้มน้ำของ[[พระพรหม]] แบบที่สอง พระองค์เกิดจากน้ำล้างเท้าที่เคารพของ[[พระนารายณ์]] และพระพรหมเก็บน้ำนี้ไว้ใน[[กมัณฑลุ]](โถกาต้มน้ำสำหรับนักบวช)ของพระองค์ แบบที่สาม พระองค์เป็นพระธิดาของ[[ท้าวหิมวัตและพระนางเมนกา]] มีน้องสาว 2 พระองค์นามว่า[[พระอุมาภควตี]] พระองค์เป็นพระชายาของพระศิวะ และ[[พระแม่ธรณี|พระภูมาตาเทวี]]หรือ[[พระแม่ภูมี]]เป็นชายาของพระวิษณุ ตามคติความเชื่อของอินเดีย ว่ากันว่าพระองค์ทรงปลาใหญ่หรือจระเข้เป็นพาหนะ พระองค์เป็นเทวีผู้ให้กำเนิด[[แม่น้ำคงคา|สายน้ำคงคา]] พระแม่คงคาและพระศิวะเจ้ามีพระธิดาและพระบุตร ฝาแฝด คือ [[พระยามี]]หรือ[[พระยามี|ยมุนา]] บางตำนานคือ[[พระแม่มนสาเทวี]] และ[[พระยม|ยมา]]หรือ[[พระยม]] ตามความเชื่อของชาวอินเดีย และนอกจากนั้นชาวฮินดูยังเชื่อว่าสายน้ำ คงคานั้นสามารถชำระล้างบาปของตนได้ พระนางคงคานั้นไม่ได้มีปางอันใดเนื่องจากว่าไม่มีการแบ่งภาคลงมาเกิดแต่มีการร่วมกับองค์พระศิวะในปางคงเคศวรนั้นเอง นอกจากนั้นก็จะคงพบในรูปเคารพของพระศิวะโดยพระองค์จะปรากฏในเทวลักษณะที่เป็นน้ำไหลจากมวยผมของพระศิวะ พระองค์ทรงเป็นผู้สร้างสายน้ำที่แตกต่างกันบนโลกมนุษย์ เพื่อช่วยเหลือวิญญาณที่โชคร้าย อย่างไรก็ตามเธอเป็นเพียงแม่น้ำที่ต้องปฏิบัติตามโลกทั้งสาม คือ สวรรค์ โลก และ นรก ศาสนาฮินดูเชื่อว่า จระเข้กำเนิดมาจากพระแม่คงคาตอนที่ลงมายังโลกมนุษย์ หากลงมาโดยตรง ความรุนแรงของสายน้ำจะทำให้โลกถึงแก่กาลพินาศ ดังนั้น พระศิวะจึงได้ใช้มวยผมรองรับเอาพระคงคาไว้ก่อนทอดหนึ่ง ก่อนที่พระคงคาจะไหลจากมวยผมของพระศิวะลงมายังโลกมนุษย์อีกที
'''พระแม่คงคา'''เป็น[[เทวี|เทพสตรี]]ใน[[ศาสนา|คติ]][[ศาสนาฮินดู|ศาสนาพรามณ์-ฮินดู]] เป็น[[เทวี|เทพนารี]]ผู้ดูแลและรักษา[[แม่น้ำคงคา]]ใน[[ประเทศอินเดีย]] และใน[[ศาสนา|คติ]]ความเชื่อของ[[ประเทศไทย]]และเป็น[[เทวี|เทพสตรี]]ผู้รักษา[[แม่น้ำ]] ห้วย หนอง คลอง [[ทะเลสาบ|บึง]]
 
ศาสนาฮินดูเชื่อว่า จระเข้กำเนิดมาจากพระแม่คงคาตอนที่ลงมายังโลกมนุษย์ หากลงมาโดยตรง ความรุนแรงของสายน้ำจะทำให้โลกถึงแก่กาลพินาศ ดังนั้น พระศิวะจึงได้ใช้มวยผมรองรับเอาพระคงคาไว้ก่อนทอดหนึ่ง ก่อนที่พระคงคาจะไหลจากมวยผมของพระศิวะลงมายังโลกมนุษย์อีกที
 
{{เทวดา}}
== พัฒนาการความเชื่อและด้าน[[โบราณคดี]] ==
{{โครงส่วน}}
== [[ตำนาน]]และเทพนิยายที่เกี่ยวข้อง ==
และเป็นมีพระประวัติในหลายแบบ ตามความเชื่อในแบบแรกพระองค์เกิดจากน้ำในกมัณทลุของ[[พระพรหม]] แบบที่สอง พระองค์เกิดจากน้ำล้างเท้าที่เคารพของ[[พระนารายณ์]] และพระพรหมเก็บน้ำนี้ไว้ใน[[กมัณฑลุ]](โถน้ำสำหรับนักบวช)ของพระองค์ แบบที่สาม พระองค์เป็นพระธิดาของท้าวหิมวัตและพระนางเมนกา มีน้องสาว 2 พระองค์นามว่า[[พระอุมาภควตี]] พระองค์เป็นพระชายาของพระศิวะ และ[[พระแม่ธรณี|พระภูมาตาเทวี]]หรือ[[พระแม่ภูมี]]เป็นชายาของพระวิษณุ ตามคติความเชื่อของอินเดีย ว่ากันว่าพระองค์ทรงปลาใหญ่หรือจระเข้เป็นพาหนะ พระองค์เป็นเทวีผู้ให้กำเนิด[[แม่น้ำคงคา|สายน้ำคงคา]] พระแม่คงคาและพระศิวะเจ้ามีพระธิดาและพระบุตร ฝาแฝด คือ [[พระยามี]]หรือ[[พระยามี|ยมุนา]] บางตำนานคือ[[พระแม่มนสาเทวี]] และ[[พระยม|ยมา]]หรือ[[พระยม]] ตามความเชื่อของชาวอินเดีย และนอกจากนั้นชาวฮินดูยังเชื่อว่าสายน้ำ คงคานั้นสามารถชำระล้างบาปของตนได้ พระนางคงคานั้นไม่ได้มีปางอันใดเนื่องจากว่าไม่มีการแบ่งภาคลงมาเกิดแต่มีการร่วมกับองค์พระศิวะในปางคงเคศวรนั้นเอง นอกจากนั้นก็จะคงพบในรูปเคารพของพระศิวะโดยพระองค์จะปรากฏในเทวลักษณะที่เป็นน้ำไหลจากมวยผมของพระศิวะ พระองค์ทรงเป็นผู้สร้างสายน้ำที่แตกต่างกันบนโลกมนุษย์ เพื่อช่วยเหลือวิญญาณที่โชคร้าย อย่างไรก็ตามเธอเป็นเพียงแม่น้ำที่ต้องปฏิบัติตามโลกทั้งสาม คือ สวรรค์ โลก และ นรก ศาสนาฮินดูเชื่อว่า จระเข้กำเนิดมาจากพระแม่คงคาตอนที่ลงมายังโลกมนุษย์ หากลงมาโดยตรง ความรุนแรงของสายน้ำจะทำให้โลกถึงแก่กาลพินาศ ดังนั้น พระศิวะจึงได้ใช้มวยผมรองรับเอาพระคงคาไว้ก่อนทอดหนึ่ง ก่อนที่พระคงคาจะไหลจากมวยผมของพระศิวะลงมายังโลกมนุษย์อีกที
{{โครงส่วน}}
[[ไฟล์:Ravi_Varma-Descent_of_Ganga.jpg|thumb| [[จิตรกรรม]]ของ [[พระศิวะ]]ตอน[[คงคาธรมูรติ]] วาดโดย ราชา รวิมา [[ประเทศอินเดีย]]]]
==ความสำคัญด้าน ลัทธิ-[[ศาสนา]]==
{{โครงส่วน}}
== [[เทวสถาน]]และ[[เทวรูป]]ที่สร้างอุทิศถวายในประเทศต่าง ๆ ==
=== [[ประเทศอินเดีย]] ===
*[[เทวสถาน|วัด]][[วัดคังโคตรี|คังโคตรี]] [[เขาโคมุข|ยอดเขาโคมุข]]ซึ่งเป็นต้นกำเนิด[[แม่น้ำคงคา]]จากธาร[[หิมะ]]บน[[เทือกเขาหิมาลัย|ยอดเขาหิมาลัย]] [[รัฐอุตตราขัณฑ์]] [[ประเทศอินเดีย]]
*[[เทวรูป]]ใน[[ทะเลสาปพินทุสโรวร|สระน้ำพินทุสโรวร]] [[รัฐอุตตราขัณฑ์]][[ประเทศอินเดีย]]
*[[เทวรูป]]ในวิหารพระพระคงคา ริม[[แม่น้ำคงคา]] [[เมืองหริหวาร]]
*[[เทวรูป]]ในวิหารพระคงคา ริม[[แม่น้ำคงคา]]เมืองฤษีเกษ
*[[เทวรูป]]ในวิหารพระคงคา ริม[[แม่น้ำคงคา]] ที่วังน้ำวนประยาค
*[[เทวรูป]]พระคงคา ที่ท่าน้ำตรีเวณี [[จุฬาตรีคูณ (ภูมิศาสตร์)|วังน้ำวนสังคัม]] ซึ่งเป็นวังน้ำวนที่รวบรวมของ[[แม่น้ำคงคา]] [[แม่น้ำยมุนา]] และ[[แม่น้ำสรัสวตี]](ซึ่งปัจจุบันได้แห้งไปแล้วแต่[[เทือกเขาหิมาลัย|ยอดเขาหิมาลัย]]ชาวฮินดูยังเชื่อว่ายังไหลอยู่[[เทือกเขาหิมาลัย|ยอดเขาหิมาลัย]]ใต้พื้นดิน) เป็นแรงบันดาลใจให้เกิดนิยายชื่อดังของ[[ประเทศไทย]] คือ เรื่อง[[จุฬาตรีคูณ (นวนิยาย)|จุฬาตรีคูณ]]ขึ้น
 
{{โครงส่วน}}
 
=== [[ประเทศเนปาล]] ===
*[[เทวรูป]] [[สัมฤทธิ์]] พระแม่คงคา หน้า[[เทวสถาน]]ตาเลชุภวานี พระราชวังปาตัน[[กาฐมาณฑุ|กรุงกาฐมาณฑุ]] [[ประเทศเนปาล]]
[[ไฟล์:Le temple de Taleju dans le palais royal (Patan) (8610057178).jpg|thumb|[[เทวรูป]] [[สัมฤทธิ์]] ของ[[พระยามี|พระแม่ยมุนา]] และ พระแม่คงคาในฐานะผู้รักษา[[เทวสถาน]] พระราชวังปาตัน[[กาฐมาณฑุ|กรุงกาฐมาณฑุ]] [[ประเทศเนปาล]]]]
=== [[ประเทศศรีลังกา]] ===
*[[เทวรูป]][[ประติมากรรม|จำหลัก]]ประดับด้านข้าง[[อุโบสถ|พระอุโบสถ]] [[วัดกัลยาณี ประเทศศรีลังกา|วัดกัลยาณี]]หรือ[[วัดกัลยาณี ประเทศศรีลังกา|วัดคงคาราม]] [[กรุงโคลัมโบ]]
[[ไฟล์:A_Devi_sculpture_in_Sri_Lanka_Goddess_Ganga.jpg|thumb|[[เทวรูป]][[ประติมากรรม|จำหลัก]]ประดับด้านข้าง[[อุโบสถ|พระอุโบสถ]] [[วัดกัลยาณี ประเทศศรีลังกา|วัดกัลยาณี]]หรือ[[วัดกัลยาณี ประเทศศรีลังกา|วัดคงคาราม]] [[กรุงโคลัมโบ]] [[ประเทศศรีลังกา]]]]
 
=== [[ประเทศมอริเชียส]] ===
*[[ทะเลสาปคงคาตละโลก]] [[จังหวัดสวันเนอร์]]
[[ไฟล์:Hindu_temple_at_Grand_Bassin_Mauritius.jpg|thumb|[[เทวรูป]]พระแม่คงคาใน[[ทะเลสาปคงคาตละโลก]] [[จังหวัดสวันเนอร์]] [[ประเทศมอริเชียส]]]]
=== [[ประเทศไทย]] ===
=== ที่มาของคติความเชื่อใน[[ประเทศไทย]] ===
{{โครงส่วน}}
=== [[เทวสถาน]]ใน[[ศาสนาฮินดู]]ที่มีเทวรูปใน[[ประเทศไทย]] ===
* หอพระอิศวร [[เทวสถานโบสถ์พราหมณ์]] [[กรุงเทพมหานคร]] ในลักษณะ [[เทวรูป]][[ประติมากรรม]]นูนต่ำใช้สำหรับรับเสร็จ[[พระอิศวร]]ใน[[พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย]] มีคำศัพท์เฉพาะสำหรับ[[เทวรูป]][[ประติมากรรม]]นูนต่ำนี้ว่า [[แห่นางดาน|นางกระดาน]]
* [[สมาคมฮินดูธรรมสภา]] (วัดวิษณุ) [[เขตยานนาวา]] [[กรุงเทพมหานคร]] ใน วิหารพระแม่คงคา (ด้านขวามือของ[[เทวรูป]] [[สัมฤทธิ์]] [[พระศิวะ]]ทรงบำเพ็ญ[[สมาธิ]])
* [[สมาคมฮินดูสมาช]] [[กรุงเทพมหานคร]](วัดเทพมณเฑียร)ในลักษณะ[[ประติมากรรม|รูปภาพ]]แกะสลักจาก[[หินอ่อน]] ในหอศิวลึงค์ (ตรงข้ามหอ [[พระสตี|พระราณีสตีเทวี]]ด้านขวามือ)
 
 
=== [[โบราณวัตถุ]]ที่เกี่ยวเนื่องใน[[ประเทศไทย]] ===
* [[ทับหลัง]][[ประติมากรรม|จำหลัก]] [[ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์|พระวิษณุอนันตยาศิน]] ในฐานะพระชายาของ[[พระวิษณุ|พระนารายณ์]]ซึ่งประทับเป็นองค์ที่สามร่วมกับ[[พระลักษมี]]และ[[พระสุรัสวดี]] จาก [[ปราสาทสระกำแพงใหญ่|ปราสาทศรีพฤทเธศวร]] [[วัดสระกำแพงใหญ่]] [[ถนนประดิษฐ์ประชาราษฎร์]] หมู่ 1 [[ตำบลสระกำแพงใหญ่]] [[อำเภออุทุมพรพิสัย]] [[จังหวัดศรีสะเกษ]] ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่[[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] [[ปราสาทบาปวน |ศิลปะบาปวน]] อายุในราวกลาง[[ศตวรรษที่ 16|พุทธศตวรรษที่ 16 ]]
 
* [[ทับหลัง]][[ประติมากรรม|จำหลัก]] [[ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์|พระวิษณุอนันตยาศิน]] จาก [[ปราสาทบ้านปราสาท|ปราสาทห้วยทับทัน]]หรือปราสาทบ้านโนนธาตุ [[จังหวัดศรีสะเกษ]] อายุในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 17 โดยเป็นภาพ[[พระวิษณุ]][[พระนารายณ์|นารายณะ]]สองกร ตะแคงขวา ตั้งพระเศียรขึ้น สภาพลบเลือน มีร่องรอยของ[[ดอกบัว]]ออกมาจาก [[สะดือ|พระนาภี]] ด้านบนเป็นรูป[[พระพรหม]] มีรูปของพระมเหสีทั้งสี่พระองค์ คือ [[พระลักษมี]]และ[[พระสุรัสวดี]] พระคงคาและ[[พระแม่ภูมี|พระแม่ธรณี]] ที่ปลายพระบาทเป็นรูปของนางกำนัลถือพัดโบก เหนือขึ้นไปเป็นภาพบุคคลหลายรูป ไม่ชัดเจนนัก ที่ปลายทับหลังฝั่งด้านขวา เป็นภาพของนางกำนัลกำลังถือเครื่องหอมดอกไม้
 
* [[เทวรูป]][[แห่นางดาน|นางกระดาน]]พระแม่คงคา จาก[[เทวสถานโบสถ์พราหมณ์]] [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]] ปัจจุบันอยู่ใน [[พิพิธภัณฑสถานนครศรีธรรมราช ]][[จังหวัดนครศรีธรรมราช]]มีอายุราว[[อาณาจักรอยุธยา|สมัยอยุธยาตอนต้น]] ลักษณะเครื่องทรงและสัดส่วนของ[[เทวรูป]]พระคงคา คล้ายกับ[[เจว็ด|พระเจว็ด]] จำหลักศิลารูป[[เทวี|เทพสตรี]]ในซุ้มเรือนแก้ว ซึ่งปัจจุบันอยู่ใน [[พระราชวังจันทรเกษม|พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจันทรเกษม]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]]
 
* [[เทวรูป]][[แห่นางดาน|นางกระดาน]]พระแม่คงคา จาก[[เทวสถานโบสถ์พราหมณ์|เทวสถานโบสถ์พราหมณ์พระนคร]] [[เสาชิงช้า]] [[กรุงเทพมหานคร]] มีอายุราว[[อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราช)|สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น]] ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อประกอบ[[พระราชพิธีตรียัมพวาย ตรีปวาย]]สำหรับ[[อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราช)|พระนคร]]และ[[อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราช)|พระราชอาณาจักร]]
 
=== [[วัด]]และ[[อาราม|พุทธสถาน]]ใน[[ศาสนาพุทธ|พระพุทธศาสนา]]ที่มี[[เทวรูป]]ใน[[ประเทศไทย]]ปัจจุบัน ===
*อุทยานศาสนาพระโพธิสัตว์กวนอิม ตำบลพูสวรรค์ อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี.
*วัดทองนาปรัง ตำบลบางไผ่ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.
*วัดหงษ์ทอง (วัดกลางน้ำ) ตำบลสองคลอง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา.
*วัดหัวลำโพง (ประดิษฐานข้างศาลท้าวมหาพรหม หน้าพระอุโบสถของวัด )ถนนพระราม ๔ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร.
*วัดปราโมทย์(ประดิษฐานในศาลพระแม่ธรณีบีบมวยผม) อำเภอบางกุนที จังหวัดสมุทรสงคราม.
* วัดถ้ำเสือ ตำบลท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี.
*วัดแก้วประเสริฐ บ้านท่าแอต ตำบลปากคลอง อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร.
{{โครงส่วน}}
 
==พระแม่คงคาในลักษณะต่างๆ==
 
<gallery>
File:Ganga_National_Museum01.jpg | [[เทวรูป]]พระแม่คงคา ใน[[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอินเดีย กรุงนิวเดลี |พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี]] [[นิวเดลี|กรุงนิวเดลี]] [[ประเทศอินเดีย]]
File: GangaTerracottaAhichchhatra.JPG| [[เทวรูป]]พระแม่คงคา ทรง[[จระเข้]]เป็น[[เทพพาหนะ]]และทรงถือ[[หม้อกุมภะ]]ในพระหัตถ์ข้างซ้าย ใน[[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอินเดีย กรุงนิวเดลี |พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี]] [[นิวเดลี|กรุงนิวเดลี]] [[ประเทศอินเดีย]]
File: Raja_Ravi_Varma,_Ganga_and_Shantanu_(1890).jpg| [[จิตรกรรม]] วาดโดย ราชา รวิมา เล่าเรื่องจาก[[มหากาพย์]][[มหาภารตะ]] ตอนพระแม่คงคานำ[[ภีษมะ|เจ้าชายเทวพรต]] โอรสที่เิกิดกับพระนางและ[[ท้าวศานตนุ]](พระสวามีซึ่ง[[พระมหากษัตริย์|ราชา]] แห่ง[[หัสตินาปุระ |กรุงหัสตินาปุระ ]]ไปดูแลเองและหายไปใน[[แม่น้ำคงคา]]เพราะ[[ท้าวศานตนุ]]ได้ผิดสัญญาวาจาสัตย์ที่ได้ให้ไว้กับพระนาง(ดูเพิ่มจาก[[มหาภารตะ|กำเนิดมหาภารตะ]])
File:GoddessGangaInTribhangaWithRetinue.JPG|[[เทวรูป]]พระแม่คงคา(ขวา)ในลักษณะทรงยืน[[ตริภังค์]] ใน[[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอินเดีย กรุงนิวเดลี |พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี]] [[นิวเดลี|กรุงนิวเดลี]] [[ประเทศอินเดีย]]
File:Decorative_Door_Pillar_Showing_Ganga_on_Crocodile_-_Mediaeval_Period_-_Bharna_Khurd_-_ACCN_16-1205_-_Government_Museum_-_Mathura_2013-02-23_5211.JPG|[[เทวรูป]]ศิลปะมถุรา ปัจจุบันอยู่ใน[[พิพิธภัณฑสถานแห่งมถุรา]] [[รัฐอุตตรประเทศ]] [[ประเทศอินเดีย]]
File:Ellora,_maharashtra_1997098.jpg|[[เทวรูป]][[ประติมากรรม|นูนสูง]] ใน[[ถ้ําเอลโลรา]] [[เมืองออรังกาบาด]] [[รัฐมหาราษฏระ ]] [[ประเทศอินเดีย]]
 
File:The_River_Goddess_Ganga_(Ganges)_and_Attendants_LACMA_M.79.9.10.1_(1_of_9).jpg|[[เทวรูป]][[ประติมากรรม|นูนสูง]] พระคงคา(ขวา)และ[[พระศิวะ]](ซ้าย) ปัจจุบันอยู่ใน[[พิพิธภัณฑสถานลอสแอนเจลิส]] [[ลอสแอนเจลิส]] [[สหรัฐอเมริกา]]
File:Watercolour_painting_on_paper_of_Gaṅgā%2C_the_personification_of_the_sacred_river_Ganges.jpg| [[จิตรกรรม]] พระแม่คงคาจาก[[ประเทศอินเดีย]]ปัจจุบันอยู่ใน[[พิพิธภัณฑ์บริติช]] [[ประเทศอังกฤษ]]
File:Santanu,_a_king_of_Hastinapura_in_the_Mahabharata,_saw_a_beautiful_woman_on_the_banks_of_the_river_Ganga.jpg |[[จิตรกรรม]]พระแม่คงคา[[จิตรกรรม]]แบบอินเดียปัจจุบัน เล่าเรื่องจาก[[มหากาพย์]][[มหาภารตะ]] ตอนพระแม่คงคาทรงพบรักกับ[[ท้าวศานตนุ]][[พระมหากษัตริย์|ราชา]] แห่ง[[หัสตินาปุระ |กรุงหัสตินาปุระ]](ดูเพิ่มจาก[[มหาภารตะ|กำเนิดมหาภารตะ]])
File:The_scene_from_the_Mahabharata_of_the_presentation_by_Ganga_of_her_son_Devavrata_(the_future_Bhisma)_to_his_father,_Santanu..jpg |[[จิตรกรรม]]พระแม่คงคา[[จิตรกรรม]]แบบอินเดียปัจจุบันเล่าเรื่องจาก[[มหากาพย์]][[มหาภารตะ]] ตอนพระแม่คงคานำ[[ภีษมะ|เจ้าชายเทวพรต]] โอรสที่เิกิดกับพระนางและ[[ท้าวศานตนุ]](พระสวามีซึ่ง[[พระมหากษัตริย์|ราชา]] แห่ง[[หัสตินาปุระ |กรุงหัสตินาปุระ ]]มาถวายคืน[[ท้าวศานตนุ]](พระสวามีซึ่ง[[พระมหากษัตริย์|ราชา]] แห่ง[[หัสตินาปุระ |กรุงหัสตินาปุระ ]](ดูเพิ่มจาก[[มหาภารตะ|กำเนิดมหาภารตะ]])
File: Ganga_idol.jpg|[[เทวรูป]]พระแม่คงคา สร้างดินดินปั้นปั้นสำหรับบูชาในเทศกาล[[คงคาทศหรา]] และ[[คงคาสัปตี]]ในภาคเหนือของอินเดีย
 
 
 
 
</gallery>
 
 
 
{{เทวดา}}
{{เทพและคัมภีร์ในศาสนาฮินดู}}