ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซอฟต์บอล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
 
== รูปแบบการเล่นของซอฟต์บอล ==
ซอฟต์บอลมีรูปแบบการเล่นมาตรฐานอยู่ 3 รูปแบบ: ''สโลว์พิตซ์พิตช์'', ''ฟาสต์พิตซ์ฟาสต์พิตช์'', และ ''โมดิฟายด์พิตซ์ดิฟายด์พิตช์''
 
* '''ฟาสต์พิตซ์ฟาสต์พิตช์''' เป็นรูปแบบการเล่นในเชิงรับ พิตเชอร์เป็นผู้เริ่มเปิดการเล่น โดยการขว้างบอลออกไปด้วยความเร็วสูงสุด เพื่อให้แบตเตอร์ตีบอลได้ยาก แบตเตอร์จะถูกให้ออกจากสนามเป็นจำนวนมากเนื่องจากไม่สามารถตีลูกได้ คะแนนจะต่ำ พิตเชอร์ที่ดีจะถือเป็นผู้เล่นที่มีความสำคัญ
 
* '''สโลว์พิตซ์พิตช์''' เป็นรูปแบบการเล่นที่ทำให้แบตเตอร์มีโอกาสในการตีลูกที่มากขึ้น การเล่นแบบสโลว์พิตซ์พิตช์ยังมีอีกสองชนิด ซึ่งใช้ลูกบอลต่างขนาดกัน รูปแบบการเล่นที่ใช้ที่ลูกบอลขนาดใหญ่กว่าบางครั้งเรียกกันว่า ''ซูเปอร์สโลว์พิตซ์พิตช์'' ถูกนำออกจากกฎกติกาของสมาพันธ์ซอฟต์บอลนานาชาติในปีพ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) แต่ก็ยังมีการเล่นกันอยู่ในนัดที่แข่งแบบไม่เป็นทางการ
 
* '''โมดิฟายด์พิตซ์ดิฟายด์พิตช์''' เป็นรูปแบบการเล่นที่ไม่มีการกำหนดความเร็วในการขว้าง แต่อย่างไรก็ตามเทคนิกต่างๆเทคนิคต่าง ๆ ก็ต้องเป็นไปตามกฎกติกาที่มีการวางเอาไว้
 
ในบทความนี้จะอ้างอิงถึงการเล่นแบบฟาสต์พิตซ์ฟาสต์พิตช์ที่ผสมผสานกับโมดิฟายด์พิตซ์ดิฟายด์พิตช์ และอ้างอิงถึงการเล่นแบบสโลว์พิตซ์พิตช์ที่รวมถึงการเล่นโดยใช้ลูกบอลขนาดใหญ่ (16 นิ้ว)
 
== สนามซอฟต์บอล ==
[[ไฟล์:Softball_diamond_large.png|thumb|300px|รูปแบบสนามซอฟต์บอลรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน]]
 
สนามที่ใช้ในการเล่นจะแบ่งเป็นสองส่วนคือ '''เขตแฟร์ (Fair territory) ''' และ '''เขตฟาวล์ (Foul territory) ''' เขตแฟร์ยังถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ '''อินฟิลด์ฟีลด์ (infield) ''', '''เอาท์ฟิลด์เอาต์ฟีลด์ (outfield) ''', รวมถึงบริเวณที่อยู่เหนือรั้วของเขตเอาท์ฟิลด์ด้วยเอาต์ฟีลด์ด้วย
 
สนามแข่งขันถูกกำหนดไว้โดย '''เบสไลน์ (baselines) ''' สองเส้น หรือ '''ฟาวล์ไลน์ (foul lines) ''' ที่มาทำมุมกันที่ '''โฮมเพลทเพลต (home plate) '''. ความยาวขั้นต่ำของเบสไลน์จะถูกกำหนดตามประเภทของผู้เล่น รั่วซึ่งมีการล้อมไว้ระหว่างเบสไลน์ทั้งสองจะเป็นตัวบ่งบอกขนาดของสนาม รั้วนี้จะมีระยะห่างจากโฮมเพลทเพลตเท่ากันไม่ว่าจะวัดมาจากจุดใดบนรั้วก็ตาม
 
จุดที่อยู่ด้านหลังโฮมเพลทเพลตจะเรียกว่า '''แบกสต็อป (backstop) '''. ซึ่งจะมีระยะห่างจากโฮมเพลทประมาณเพลตประมาณ 25 ถึง 30 ฟุต (7.62 และ 9.14 เมตร)
 
โฮมเพลทเพลตนั้นทำมาจากยาง เป็นรูปทรงที่มีห้าด้าน คล้ายกับการผสมผสานกันระหว่างสี่เหลี่ยมผืนผ้าและสามเหลี่ยม กว้าง 17 นิ้ว (43 เซนติเมตร) ยาว 8.5 นิ้ว (22 เซนติเมตร) สามเหลี่ยมจะมีขนาดพอดีกับมุมของเส้นที่ไปเชื่อมกับเบสไลน์ โฮมเพลทเพลตเป็นมุมด้านหนึ่งของสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนที่มี '''เบส (bases) ''' อยู่ที่มุมของสี่เหลี่ยม เบสอื่นๆที่ไม่ใช่โฮมเพลทเพลตจะเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีขนาด 15 นิ้ว (38 เซนติเมตร) ทำจากเบาะมวยปล้ำหรือยาง และหนาไม่เกิน 5 นิ้ว (13 เซนติเมตร) เบสจะถูกรั้งไว้ให้อยู่กับที่เสมอ เบสจะถูกนับตามเข็มนาฬิกาเป็น เบสที่หนึ่ง เบสที่สอง และเบสที่สาม ด้านนอกเบสแรก (ซึ่งอยู่ในเขตฟาวล์) จะมี "ดับเบิลเบส (double base) " หรือ "เซฟตี้เบส (safety base) "อยู่ติดกันกับเบสแรกเพื่อขั้นกลางระหว่างเบสแมน (baseman) และตัววิ่ง ตัววิ่งจะวิ่งเข้าไปในเขตฟาวล์ที่อยู่ในส่วนของดับเบิลเบสหลังจากที่ตีบอล ระหว่างที่ทีมที่อยู่ภายในสนามกำลังขว้างบอลสู่เบสแรก ก่อนที่ตัววิ่งจะเข้าไปถึงเซฟตี้เบส แต่อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่ทุกสนามที่จะมีเซฟตี้เบส และในสนามของผู้หญิงจะมีอยู่มากกว่าผู้ชาย ดับเบิลเบสนี้ต้องมีในการแข่งขันของสมาพันธ์ซอฟต์บอลนานาชาติ
 
เขตอินฟิลด์ฟีลด์คือส่วนที่อยู่ภายในสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนและบริเวณที่ประชิดตัวกับอินฟิลเดอร์ (Infielder) เขตเอาท์ฟิลด์เอาต์ฟีลด์คือเขตที่อยู่ระหว่างเบสไลน์ รั้ว และอินฟิลด์ฟีลด์ อินฟิลด์ฟีลด์มักเป็นบริเวณที่ชื้นแฉะแต่เอาท์ฟิลด์เอาต์ฟีลด์จะมีการปลูกหญ้าในส่วนที่ใช้แข่งขัน
 
บริเวณจุดศูนย์กลางของวงกลมจะมีพิตชื่งเพลทพิตชื่งเพลต (Pitching plate) เป็นแผ่นยางรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ในฟาสต์พิตซ์ฟาสต์พิตช์ พิตซิ่งเซอร์เคิลพิตชิงเซอร์เคิล (Pitching circle) จะมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 8 ฟุต (2.44 เมตร) พิชชิ่งเซอร์เคิลจะอยู่รอบพิชชิ่งเพลทพิชชิ่งเพลต
 
ในสนามจะต้องมีช่วงบริเวณประมาณ 15 ถึง 12 ฟุต (5 และ 4 เมตร) จากรั้วเพื่อเตือนให้ผู้อยู่ในบริเวณนั้นระมัดระวังเรียกว่าวอร์นนิ่งแทรก (Warning track) แต่เกมที่เล่นในสนามใหญ่กว่าอาจไม่จำเป็นต้องมีวอร์นนิ่งแทรกหากรั้วสนามนั้นเป็นรั้วที่จัดขึ้นชั่วคราว
บรรทัด 53:
{| class="wikitable"
|-
!- colspan=2 | ฟาสพิตซ์เบสไลน์สพิตช์เบสไลน์ || colspan=2 | สโลว์พิตซ์เบสไลน์พิตช์เบสไลน์
|-
! ประเภทหญิง || ประเภทชาย || ประเภทหญิง || ประเภทชาย
บรรทัด 61:
|}
 
=== ระยะการขว้างของฟาสต์พิตซ์ฟาสต์พิตช์ ===
{| class="wikitable"
|-
บรรทัด 75:
|}
 
=== ระยะการขว้างของสโลว์พิตซ์พิตช์ ===
{| class="wikitable"
|- colspan=7 | Slow Pitch Pitching Distance
บรรทัด 118:
{{โครง-ส่วน}}
 
=== ฟาสต์พิตช์และโมดิฟายด์พิตช์ ===
=== ฟาสต์พิตซ์และโมดิฟายด์พิตซ์ ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สโลว์พิตซ์พิตช์ ===
{{โครง-ส่วน}}