ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระซู่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tonypaph (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 55:
* '''''D.s. sumatrensis''''' หรือ '''แรดสุมาตราตะวันตก''' มีเหลืออยู่ราว 75-85 ตัวเท่านั้น ส่วนใหญ่พบอยู่ในอุุทยานแห่งชาติ Bukit Barisan Selatan และ Gunung Leuser บนเกาะสุมาตรา ปัจจัยคุกคามหลักของสปีชีส์ย่อยนี้คือการสูญเสียถิ่นอาศัยและการดักจับอย่างผิดกฎหมาย มีความแตกต่างทาง[[พันธุศาสตร์|พันธุกรรม]]เล็กน้อยระหว่างแรดสุมาตราตะวันตกและตะวันออก<ref name="IUCN Dss">Asian Rhino Specialist Group (1996). [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/6556 ''Dicerorhinus sumatrensis'' ssp.'' sumatrensis'']. ''2007 [[IUCN Red List of Threatened Species]]''. IUCN 2007. Retrieved on January 13, 2008.</ref> กระซู่ในทางคาบสมุทรมาเลเซียมีอีกชื่อหนึ่งคือ ''D.s. niger'' แต่ภายหลังพบว่าเป็นสปีชีส์ย่อยเดียวกับกระซู่ทางตะวันตกของสุมาตรา<ref name=Taxhistory>{{Cite journal | author = Rookmaaker, L.C. | year = 1984 | title = The taxonomic history of the recent forms of Sumatran Rhinoceros (Dicerorhinus sumatrensis) | journal = Journal of the Malayan Branch of the Royal Asiatic Society | volume = 57 | issue = 1 | pages = 12–25 }}</ref>
 
* '''''D.s. harrissoni''''' หรือ '''แรดสุมาตราตะวันออก''' หรือ '''แรดบอร์เนียว''' พบตลอดทั้งเกาะ[[บอร์เนียว]] ปัจจุบันคาดว่าสูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติแล้ว เหลือเพียง 3 ตัวในที่เลี้ยง เป็นตัวผู้ 1 ตัว และตัวเมียอีก 2 ตัว ซึ่งทั้งสามตัวนี้ไม่พร้อมที่จะผสมพันธุ์ ตัวเมียทั้งคู่ (ชื่อ Puntung and Iman) มีสุขภาพที่ไม่ดี และไม่พร้อมที่จะตั้งท้อง ส่วนตัวผู้เพียงตัวเดียว (ชื่อ Tam) มีอัตราการสร้างอสุจิที่ต่ำ และอ่อนแอ<ref name="">Sandra Sokial (15 September 2015). "Sumatran rhinos living on borrowed time in Sabah". The Rakyat Post. Retrieved 30 September 2015</ref> นอกจากนี้ยังมีรายงานที่ไม่มีการยืนยันว่าพบแรดบอร์เนียวใน[[รัฐซาราวักซาราวะก์]]และ[[กาลิมันตัน]]<ref name="IUCN Dsh">Asian Rhino Specialist Group (1996). [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/6555 ''Dicerorhinus sumatrensis'' ssp.'' harrissoni'']. ''2007 [[IUCN Red List of Threatened Species]]''. IUCN 2007. Retrieved on January 13, 2008.</ref> ชื่อของสปีชีส์ย่อยนี้ตั้งขึ้นเป็นเกียรติแก่ ทอม แฮร์ริสัน (Tom Harrisson) ผู้ซึ่งทำงานในด้านสัตววิทยาและมานุษยวิทยาในบอร์เนียวอย่างยาวนานในคริสต์ทศวรรษ 1960<ref>{{Cite journal | title = Description of a new subspecies of Rhinoceros, from Borneo, ''Didermocerus sumatrensis harrissoni'' | author = Groves, C.P. | year = 1965 | journal = Saugetierkundliche Mitteilungen | volume = 13 | issue = 3 | pages = 128–131 }}</ref> แรดบอร์เนียวมีขนาดเล็กกว่าอีกสองสปีชีส์ย่อย<ref name=Taxhistory/>
 
* '''''D.s. lasiotis''''' หรือ '''แรดสุมาตราเหนือ''' เป็นสปีชีส์ย่อยเดียวที่มีการกระจายพันธุ์ใน[[ประเทศอินเดีย]]และ[[ประเทศบังกลาเทศ]] แต่ได้ประกาศว่ามี[[การสูญพันธุ์]]จากประเทศเหล่านั้นไปแล้ว มีรายงานที่ไม่ได้รับการยืนยันว่ามีประชากรกลุ่มเล็กๆที่ยังเหลือรอดใน[[ประเทศพม่า]]และสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศก็ไม่อำนวยให้ทำการพิสูจน์ข้อเท็จจริงได้<ref name="IUCN Dsl">Asian Rhino Specialist Group (1996). [http://www.iucnredlist.org/search/details.php/6554 ''Dicerorhinus sumatrensis'' ssp.'' lasiotis'']. ''2007 [[IUCN Red List of Threatened Species]]''. IUCN 2007. Retrieved on January 13, 2008.</ref> ชื่อ ''lasiotis'' มาจากภาษากรีกเพื่อแสดงถึงลักษณะ"หูเต็มไปด้วยขน" จากการศึกษาในภายหลังพบว่าขนที่หูไม่ได้ยาวไปกว่ากระซู่สปีชีส์ย่อยอื่นเลย แต่ ''D.s. lasiotis'' ยังคงเป็นสปีชีส์ย่อยอยู่ก็เพราะมีขนาดใหญ่กว่าสปีชีส์ย่อยอื่น<ref name=Taxhistory/>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กระซู่"