ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แขวงเชียงขวาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 56:
* '''ทิศใต้''' ติดกับ[[แขวงบอลิคำไซ]]
* '''ทิศตะวันตก''' ติดกับ[[แขวงหลวงพระบาง]]
 
== ประวัติแขวงเชียงขวาง ==
=== ยุคล้านช้าง ===
{{โครงส่วน}}
=== ยุคสงครามเวียดนาม ===
ในปี พ.ศ. 2513 แขวงเชียงขวางเคยเป็นสมรภูมิรบอันดุเดือดนับครั้งไม่ถ้วน ในยุค[[สงครามเวียดนาม]] หรือสงครามอินโดจีน เนื่องจากเชียงขวางคือหนึ่งในจุดยุทธศาสตร์สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศลาว ด้วยชัยภูมิที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ อยู่ห่างจาก[[นครหลวงเวียงจันทน์]]ราว 400 กิโลเมตร และหากเดินทางจากเมืองโพนสะหวันซึ่งเป็นเมืองเอกของเชียงขวางในปัจจุบัน ข้ามเทือกเขาอันสลับซับซ้อนบนทางหลวงหมายเลข 7 ไปสุดชายแดนทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ที่ด่านน้ำกลั่น จะกินระยะทางเพียง 130 กิโลเมตรเท่านั้น จึงไม่น่าแปลกที่ในช่วงสงครามอินโดจีน บริเวณนี้เคยใช้เป็นเส้นทางส่งกำลังบำรุงรวมทั้งอาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆต่าง ๆ จาก[[ประเทศเวียดนามเหนือ]] สู่[[ขบวนการปะเทดลาว]] ที่เป็นพันธมิตรต่อกัน โดยถูกเรียกขานว่า "เส้นทางโฮจิมินห์"
 
ด้วยชัยภูมิดังกล่าว ขบวนการปะเทดลาวจึงได้จัดตั้งกองบัญชาการใหญ่ขึ้นที่นี่ เป็นเหตุให้ในช่วงเวลานั้น [[กองทัพอากาศสหรัฐฯสหรัฐอเมริกา]]ได้ส่ง[[บี-52_สตราโตฟอร์เทรส|เครื่องบินทิ้งระเบิด บี 52]] เข้ามาทิ้งระเบิดปูพรมเพื่อทำลายล้างขบวนการปะเทดลาว ทำให้บ้านเมืองราษฎรหลายร้อยหลัง ตลอดจนวัดวาอารามถูกทำลายแทบทั้งหมด ส่งผลให้ราษฏรราษฎรและทหารฝ่ายขบวนการปะเทดลาวต้องอพยพเข้าไปอยู่ตามถ้ำและหุบเขาทั่วไปในแขวงเชียงขวางและพื้นที่ใกล้เคียง
 
=== ปัจจุบัน ===
ในปัจจุบัน สภาพของซากปรักหักพังจากพิษภัยของสงครามยังคงมีร่องรอยให้เห็นอยู่โดยทั่วไปในเมืองคูน ซึ่งเป็นเมืองเอกเดิมของแขวงเชียงขวาง โดยซากปรักหักพังบางแห่ง ทางรัฐบาลลาวได้อนุรักษ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้เห็นถึงความเลวร้ายของสงครามที่เกิดขึ้นเมื่อในอดีต ทั้งร่องรอยของหลุมระเบิดขนาดใหญ่ยังคงมีให้เห็นกันอยู่ทั่วไป ปัจจุบันหลุมระเบิดบางส่วนถูกดัดแปลงให้เป็นบ่อเลี้ยงปลาในนาข้าว ส่วนเศษซากของลูกระเบิดก็ได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ อาทิ รั้วบ้าน เสาบ้าน รางข้าวหมู ที่นั่งเล่น เป็นต้น
 
แม้จะผ่านภาวะสงครามอันเลวร้ายมาไม่นานนัก แต่เมืองเชียงขวางในปัจจุบันก็เริ่มฟื้นตัวเรื่อย ๆ อย่างค่อยเป็นค่อยไป และผสมผสานสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในอดีตมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมกับการสร้างเมืองโพนสะหวันทดแทนเมืองคูนที่ถูกทำลายลงด้วยพิษสงคราม
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
เส้น 109 ⟶ 122:
| Thatom
|}
 
== ประวัติแขวงเชียงขวาง ==
=== ยุคล้านช้าง ===
 
=== ยุคสงครามเวียดนาม ===
ในปี พ.ศ. 2513 แขวงเชียงขวางเคยเป็นสมรภูมิรบอันดุเดือดนับครั้งไม่ถ้วน ในยุค[[สงครามเวียดนาม]] หรือสงครามอินโดจีน เนื่องจากเชียงขวางคือหนึ่งในจุดยุทธศาสตร์สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศลาว ด้วยชัยภูมิที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ อยู่ห่างจาก[[นครหลวงเวียงจันทน์]]ราว 400 กิโลเมตร และหากเดินทางจากเมืองโพนสะหวันซึ่งเป็นเมืองเอกของเชียงขวางในปัจจุบัน ข้ามเทือกเขาอันสลับซับซ้อนบนทางหลวงหมายเลข 7 ไปสุดชายแดนทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ที่ด่านน้ำกลั่น จะกินระยะทางเพียง 130 กิโลเมตรเท่านั้น จึงไม่น่าแปลกที่ในช่วงสงครามอินโดจีน บริเวณนี้เคยใช้เป็นเส้นทางส่งกำลังบำรุงรวมทั้งอาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆ จาก[[ประเทศเวียดนามเหนือ]] สู่[[ขบวนการปะเทดลาว]] ที่เป็นพันธมิตรต่อกัน โดยถูกเรียกขานว่า "เส้นทางโฮจิมินห์"
 
ด้วยชัยภูมิดังกล่าว ขบวนการปะเทดลาวจึงได้จัดตั้งกองบัญชาการใหญ่ขึ้นที่นี่ เป็นเหตุให้ในช่วงเวลานั้น [[กองทัพอากาศสหรัฐฯ]]ได้ส่ง[[บี-52_สตราโตฟอร์เทรส|เครื่องบินทิ้งระเบิด บี 52]] เข้ามาทิ้งระเบิดปูพรมเพื่อทำลายล้างขบวนการปะเทดลาว ทำให้บ้านเมืองราษฎรหลายร้อยหลัง ตลอดจนวัดวาอารามถูกทำลายแทบทั้งหมด ส่งผลให้ราษฏรและทหารฝ่ายขบวนการปะเทดลาวต้องอพยพเข้าไปอยู่ตามถ้ำและหุบเขาทั่วไปในแขวงเชียงขวางและพื้นที่ใกล้เคียง
 
=== ปัจจุบัน ===
ในปัจจุบัน สภาพของซากปรักหักพังจากพิษภัยของสงครามยังคงมีร่องรอยให้เห็นอยู่โดยทั่วไปในเมืองคูน ซึ่งเป็นเมืองเอกเดิมของแขวงเชียงขวาง โดยซากปรักหักพังบางแห่ง ทางรัฐบาลลาวได้อนุรักษ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้เห็นถึงความเลวร้ายของสงครามที่เกิดขึ้นเมื่อในอดีต ทั้งร่องรอยของหลุมระเบิดขนาดใหญ่ยังคงมีให้เห็นกันอยู่ทั่วไป ปัจจุบันหลุมระเบิดบางส่วนถูกดัดแปลงให้เป็นบ่อเลี้ยงปลาในนาข้าว ส่วนเศษซากของลูกระเบิดก็ได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ อาทิ รั้วบ้าน เสาบ้าน รางข้าวหมู ที่นั่งเล่น เป็นต้น
 
แม้จะผ่านภาวะสงครามอันเลวร้ายมาไม่นานนัก แต่เมืองเชียงขวางในปัจจุบันก็เริ่มฟื้นตัวเรื่อย ๆ อย่างค่อยเป็นค่อยไป และผสมผสานสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในอดีตมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน พร้อมกับการสร้างเมืองโพนสะหวันทดแทนเมืองคูนที่ถูกทำลายลงด้วยพิษสงคราม
 
== สภาพแวดล้อม ==