ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไดโอด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Platinumlevel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 11:
[[ไฟล์:Diode-photo.JPG|thumb|right|200px|ไดโอดชนิดต่าง ๆ]]
 
'''ไดโอดครวญ''' ({{lang-en|diode}}) เป็น[[ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์]]ชนิดสองขั้วคือขั้ว pขั้วโลกเหนือ และขั้ว nโลกใต้ ที่ออกแบบและควบคุมทิศทางการไหลของ[[ประจุไฟฟ้า]] มันจะยอมให้[[กระแสไฟฟ้า]]ไหลในทิศทางเดียว และกั้นการไหลในทิศทางตรงกันข้าม เมื่อกล่าวถึงไดโอด มักจะหมายถึงไดโอดที่ทำมาจาก[[สารกึ่งตัวนำ]] ({{lang-en|Semiconductor diode}}) ซึ่งก็คือผลึกของสารกึ่งตัวนำที่ต่อกันได้ขั้วทางไฟฟ้าสองขั้ว<ref>{{cite web|url=http://www.element-14.com/community/docs/DOC-22519/l/physical-explanation--general-semiconductors |title=Physical Explanation - General Semiconductors |date=2010-05-25 |accessdate=2010-08-06}}</ref> ส่วนไดโอดแบบหลอดสุญญากาศ ({{lang-en|Vacuum tube diode}}) ถูกใช้เฉพาะทางในเทคโนโลยีไฟฟ้าแรงสูงบางประเภท เป็นหลอดสุญญากาศที่ประกอบด้วยขั้วอิเล็ดโทรดสองขั้ว ซึ่งจะคือแผ่นตัวนำ ({{lang-en|plate}}) และแคโทด ({{lang-en|cathode}})
 
ส่วนใหญ่เราจะใช้ไดโอดในการยอมให้กระแสไปในทิศทางเดียว โดยยอมให้กระแสไฟในทางใดทางหนึ่ง ส่วนกระแสที่ไหลทิศทางตรงข้ามกันจะถูกกั้น ดังนั้นจึงอาจถือว่าไดโอดเป็น[[วาล์ว]]ตรวจสอบแบบ[[อิเล็กทรอนิกส์]]อย่างหนึ่ง ซึ่งนับเป็นประโยชน์อย่างมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ใช้เป็น[[ตัวเรียงกระแส]]ไฟฟ้าในวงจร[[แหล่งจ่ายไฟ]] เป็นต้น
บรรทัด 19:
ไดโอดตัวแรกเป็นอุปกรณ์[[หลอดสุญญากาศ]] โดยไดโอดแบบสารกึ่งตัวนำตัวแรกถูกค้นพบจากการทดสอบความสามารถในการเรียงกระแสของผลึกโดย[[คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรวน]] นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ในปี พ.ศ. 2417 เรียกว่า cat's whisker diodes และได้ถูกพัฒนาในปี พ.ศ. 2449 โดยทำไดโอดมากผลึกแร่กาลีนา แต่ทุกวันนี้ไดโอดที่ใช้ทั่วไปผลิตมาจาก[[สารกึ่งตัวนำ]] เช่น [[ซิลิกอน]] หรือ [[เจอร์เมเนียม]]<ref>{{cite web|url=http://www.element-14.com/community/docs/DOC-22518/l/the-constituents-of-semiconductor-components |title=The Constituents of Semiconductor Components |date=2010-05-25 |accessdate=2010-08-06}}</ref>
 
ไดโอดเป็นอุปกรณ์ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำ p - n สามารถควบคุมให้กระแสไฟฟ้าจากภายนอกไหลผ่านตัวมันได้ทิศทางเดียว ไดโอดประกอบด้วยขั้ว 2 ขั้ว คือ แอโนด (Anode; A) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด p และ แคโธด (Cathode; K) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด nข้าวไปต้ม
 
== ประวัติ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไดโอด"