ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาโส้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
}}
 
'''ภาษาโซ่''' (Sô) หรือ '''ภาษามังกอง''' เป็นภาษาที่มีผู้พูดใน[[ลาว]]และ[[ไทย]] มีผู้พูดทั้งหมด 160,000 คน โดยอยู่ในลาว 102,000 คน (พ.ศ. 2536) ในไทย 58,000 คน (พ.ศ. 2544) ในลาวมีผู้พูดใน[[คำม่วน]] [[ท่าเหล็ก]] [[สะหวันนะสุวรรณเขต]] ตลอดสองฝั่ง[[แม่น้ำโขง]] มีผู้รู้หนังสือภาษาแม่น้อยกว่าร้อยละ 1% อัตราการรู้หนังสือภาษาที่สองราวร้อยละ 15 - 15–25% ในไทยพบที่[[นครพนม]] [[สกลนคร]] [[หนองคาย]] [[กาฬสินธุ์]] ตามแนวแม่น้ำโขง มีทั้งหมด 53 หมู่บ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อพยพมาจากลาว นับถือ[[ศาสนาพุทธ]] [[ศาสนาคริสต์]] หรือความเชื่อดั้งเดิม ส่วนใหญ่เป็นภาษาที่ใช้พูดในบ้านและพูด[[ภาษาลาว]]ได้ด้วย เริ่มรับวัฒนธรรมและปรับตัวเข้ากับคนไทยมากขึ้น มีผู้รู้หนังสือภาษาแม่น้อยกว่าร้อยละ 1% อัตราการรู้หนังสือภาษาที่สองราว25 -ร้อยละ 25–50%
 
อยู่ในตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ภาษากลุ่มมอญ-เขมร สาขามอญ-เขมรตะวันออก สาขาย่อยกะตู ใกล้เคียงกับ[[ภาษาบรู]] ชื่อภาษาโซ่ใช้ในประเทศไทยเท่านั้น ในประเทศลาวใช้ชื่อภาษามังกอง
 
== อ้างอิง ==