ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาณาจักรมเยาะอู้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 66:
 
'''ราชอาณาจักรมเยาะอู''' (Kingdom of Mrauk-U) เป็นราชอาณาจักรที่มีเมืองหลวงที่เมืองมเยาะอูหรือเมืองมะโรออง ใกล้กับชายฝั่งตะวันออกของ[[อ่าวเบงกอล]] ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ[[บังกลาเทศ]]และ[[รัฐยะไข่]]ใน[[ประเทศพม่า]] ปกครองตนเองเป็นอิสระระหว่าง พ.ศ. 2072 - 2328 ก่อนจะถูก[[ราชวงศ์คองบอง]]ของพม่ายึดครอง<ref name=kh-2-25>Maung Maung Tin, Vol. 2, p. 25</ref>
== ประวัติศาสตร์ ==
 
[[File:City walls (2).jpg|thumb|left|กำแพงเมืองมเยาะอู]]
มเยาะอูเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอาระกันเมื่อ พ.ศ. 1974 เมื่อเมืองเติบโตขึ้น มีการสร้างวัดและเจดีย์ต่างๆมากมาย และยังคงเหลืออยู่จนถึงปัจุบัน ในราวพุทธศตวรรษที่ 20 - 23 ที่เมืองมเยาะอูเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอาระกันนั้น มีพ่อค้าชาวต่างชาติเข้ามาค้าขายมากมาย รวมทั้งชาวโปรตุเกสและชาวดัตช์ <ref name="yegar23">{{cite book|last=Richard|first=Arthus|title= History of Rakhine|year=2002|publisher=[[Rowman & Littlefield|Lexington Books]]|location=Boston, MD|isbn=0-7391-0356-3|url=http://www.phoenixhollo.com/fr/Mrauk_U_3.html=PA23|accessdate=8 July 2012|page=23}}</ref>
 
[[พระเจ้านรเมขลา]] (พ.ศ. 1947 - 1977) หรือมิน ซอว์ หม่อง เป็นกษัตริย์ของราชอาณาจักรมเยาะอู พระองค์ได้ลี้ภัยไปยัง[[เบงกอล]]นานถึง 24 ปี กลับมาครองราชสมบัติในอาระกันเมื่อ พ.ศ. 1973 โดยได้รับความช่วยเหลือทางทหารจาก[[สุลต่านแห่งเบงกอล]] ชาวเบงกาลีส่วนหนึ่งเดินทางเข้ามาในยะไข่พร้อมกับพระองค์และกลายเป็นชาว[[โรฮีนจา]]ในบริเวณนี้ <ref name="yegar23">{{cite book|last=Yegar|first=Moshe|title=Between integration and secession: The Muslim communities of the Southern Philippines, Southern Thailand, and Western Burma / Myanmar|year=2002|publisher=[[Rowman & Littlefield|Lexington Books]]|location=Lanham, MD|isbn=0739103563|url=https://books.google.com/books?id=S5q7qxi5LBgC&pg=PA23|accessdate=8 July 2012|page=23}}</ref> พระเจ้านรเมขลายกดินแดนบางส่วนให้สุลต่านแห่งเบงกอล และพระองค์ปกครองดินแดนในฐานะรัฐบรรณาการของเบงกอล และได้รับพระนามแบบอิสลามด้วยแม้จะเป็นชาวพุทธ เหรียญทองดีนาร์ของเบงกอลสามารถใช้ได้ภายในราชอาณาจักร เหรียญที่สร้างในสมัยพระเจ้านรเมขลาด้านหนึ่งเป็นแบบพม่า อีกด้านเป็นแบบเปอร์เซีย <ref name="yegar23"/>
 
หลังจากได้รับเอกราชจากสุลต่านแห่งเบงกอล กษัตรย์ยะไข่ยังคงใช้พระนามแบบมุสลิมอยู่ <ref>{{cite book|last=Yegar|first=Moshe|title=Between integration and secession: The Muslim communities of the Southern Philippines, Southern Thailand, and Western Burma / Myanmar|year=2002|publisher=[[Rowman & Littlefield|Lexington Books]]|location=Lanham, MD|isbn=0739103563|url=https://books.google.com/books?id=S5q7qxi5LBgC&pg=PA23|accessdate=8 July 2012|pages=23–4}}</ref> กษัตริย์ถือว่าตนเป็นสุลต่านและทำตามแบบจักรวรรดิโมกุลแม้ว่าตนเป็นชาวพุทธ มีการจ้างมุสลิมเข้ารับราชการในตำแหน่งต่างๆ<ref>{{cite book|last=Yegar|first=Moshe|title=Between integration and secession: The Muslim communities of the Southern Philippines, Southern Thailand, and Western Burma / Myanmar|year=2002|publisher=[[Rowman & Littlefield|Lexington Books]]|location=Lanham, MD|isbn=0739103563|url=https://books.google.com/books?id=S5q7qxi5LBgC&pg=PA24|accessdate=8 July 2012|page=24}}</ref>ระหว่าง พ.ศ. 2074 - 2172 มีชาวโปรตุเกสมาค้าทาสชาวเบงกาลีตามบริเวณแนวชายฝั่งของยะไข่ ประชากรมุสลิมเบงกาลีเพิ่มขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 22 และมีการจ้างงานที่หลากหลายในยะไข่ ส่วนหนึ่งเป็นล่าม[[ภาษาอาหรับ]] [[ภาษาเบงกาลี]] และ[[ภาษาเปอร์เซีย]]ในศาล แม้ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธ แต่ก็ดำเนินการตามแบบของรัฐสุลต่านแห่งเบงกอลอยู่มาก<ref name="chan398">{{harv|Aye Chan|2005|p=398}}</ref> ยะไข่สูญเสียการควบคุมเบงกอลตะวันออกเฉียงใต้เมื่อราชวงศ์โมกุลรุกรานเข้ามาในจิตตะกอง
 
เมืองมเยาะอูที่สร้างโดยพระเจ้านรเมขลาเป็นราชธานีอยู่นาน 355 ปี เมืองนี้เป็นที่รู้จักในยุโรปเมื่อฟรีอาร์ เซบาสเตียน มันริก เดินทางมาถึงเมื่อ พ.ศ. 2178 ในสมัยพระเจ้าสิริสุธรรมมา (Thiri Thudhamma) พระมหามุนี พระพุทธรูปที่ปัจจุบันอยู่ในมัณฑะเลย์ เดิมอยู่มเยาะอู ภายในเมืองมะเยาะอูมีคลองมากมาย ใช้ในการคมนาคม และมีวัดเป็นจำนวนมาก<ref name="yegar23">{{cite book|last=William|first=Cornwell|title= History of Mrauk U|year=2004|publisher=[[Rowman & Littlefield|Lexington Books]]|location=Amherst, MD|isbn=0-7391-0356-3|url=https://books.google.com/books?id=H1c1UIEVH9gC&pg=PA232&lpg=PA232&dq=mrauk+u+kingdom+encyclopedia&source=bl&ots=5ga1dvwsR-&sig=eiE9uJG-CgwByNMVcYapZnL1OIY&hl=en&sa=X&ei=0idFVLGsGeS4mAXSm4DgDA&redir_esc=y#v=onepage&q=mrauk%20u%20kingdom%20encyclopedia&f=false=10 June 2013|page=232}}</ref>
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
* {{cite book | last=Charney | first=Michael W.| title= 'Arakan, Min Yazagyi, and the Portuguese: The Relationship Between the Growth of Arakanese Imperial Power and Portuguese Mercenaries on the Fringe of Mainland Southeast Asia 1517-1617.' Masters dissertation, Ohio University | year=1993 }}
* {{cite book | last=Hall | first=D.G.E. | title=Burma | edition=3rd | year=1960 |publisher=Hutchinson University Library| isbn=978-1-4067-3503-1}}