ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตระกูลภาษาอัลไต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Atdeen binmahama (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17:
== สาขาย่อย ==
ตระกูลภาษาอัลตาอิกนี้สามารถแบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ ได้ดังนี้
 
=== สาขากลุ่มภาษาเตอรกิกเตอร์กิก (Turkic subfamily) ===
มีผู้พูดประมาณ 80 ล้านคน ใช้มากใน[[ประเทศตุรกี]] [[เอเชียกลาง]] [[สาธารณรัฐยาคุต]] [[สาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน]] [[สาธารณรัฐตาตาร์สถาน]] ใน[[ประเทศรัสเซีย]] และ
{{บทความหลัก|กลุ่มภาษาเตอร์กิก}}
[[มณฑลซินเจียงอุยกูร์]]ใน[[ประเทศจีน]] สาขานี้แบ่งออกได้เป็น
มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 180 ล้านคน รวมผู้ที่พูดเป็นภาษาที่สองราว 200 ล้านคน ใช้พูดใน[[ประเทศตุรกี]] [[เอเชียกลาง]] [[สาธารณรัฐยาคุต]] [[สาธารณรัฐบัชคอร์โตสถาน]] [[สาธารณรัฐตาตาร์สถาน]] ใน[[ประเทศรัสเซีย]] และ [[มณฑลซินเจียงอุยกูร์]]ใน[[ประเทศจีน]] กลุ่มภาษาเตอร์กิกส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาตุรกี ซึ่งคิดเป็น 40% ของผู้พูดกลุ่มภาษานี้ทั้งหมด สาขากลุ่มภาษาเตอร์กิกแบ่งออกได้เป็น
* กลุ่มภาษาบุลการ์โบราณ (Old Bulgarian) ได้แก่ ภาษาบุลการ์โบราณ ปัจจุบันสูญพันธ์สูญหายหมดเหลือแต่ ภาษาชูวาช
* กลุ่มภาษาเตอร์กใต้หรือโอกุซ (Southern Turkic or Oghuz) ได้แก่ [[ภาษาตุรกี]] [[ภาษาอาเซอร์ไบจาน]] [[ภาษาเติร์กเมน]]
* กลุ่มภาษาเตอร์กเหนือ (Northern Turkic) ได้แก่ ภาษายาคุท ภาษาดอลกัน ภาษาอูเรียงกัต
เส้น 26 ⟶ 27:
* กลุ่มภาษาเตอร์กตะวันตกหรือคิปชัก (Werstern Turkic or Kipchak) ได้แก่ [[ภาษาตาตาร์]] [[ภาษาคาซัค]] [[ภาษาคีร์กีซ]] [[ภาษาการากัลปัก]] [[ภาษาบัศกีร์]]
 
=== สาขากลุ่มภาษามองโกลิคมองโกล (Mongolic subfamily) ===
{{บทความหลัก|กลุ่มภาษามองโกล}}
มีผู้พูดประมาณ 10 ล้านคน ใช้มากใน[[ประเทศมองโกเลีย]] [[เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน]] ดินแดน[[จุงกาเรีย]]ใน[[ประเทศจีน]] [[สาธารณรัฐคัลมืยคียา]]และ[[สาธารณรัฐบูรยาเทีย]]ใน[[ประเทศรัสเซีย]] แบ่งออกได้ดังนี้
* กลุ่มภาษามองโกลตะวันตกหรือออยรัท (Western Mongol or Oirat) ได้แก่ ภาษาออยรัท ภาษาคาลมิก ภาษาตอร์กุต
เส้น 32 ⟶ 34:
* กลุ่มภาษาต้าเอ้อร์ (Daur) ได้แก่ ภาษาต้าเอ้อร์
 
=== สาขากลุ่มภาษาตุงกุสสิกกูซิก (Tungusic subfamily) ===
{{บทความหลัก|กลุ่มภาษาตุงกูซิก}}
มีผู้พูดประมาณ 80,000 คน ใช้มากในไซบีเรียตะวันออก และแถบ[[แมนจูเรีย]]ในประเทศจีน สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
* กลุ่มภาษาตุงกุสเหนือ (Northern Tungus) ได้แก่ ภาษาอีเวนกิ ภาษาอีเวน ภาษาเนกิดัล
เส้น 38 ⟶ 41:
 
=== สาขาภาษาเกาหลี-ญี่ปุ่น (Korean-Japonic subfamily) ===
{{บทความหลัก|ตระกูลภาษาญี่ปุ่น|กลุ่มภาษาเกาหลี}}
มีผู้พูดประมาณ 180 ล้านคนใน[[ประเทศเกาหลี]] [[ญี่ปุ่น]]และ[[จังหวัดโอะกินะวะ|หมู่เกาะโอกินาวา]] แบ่งออกได้ดังต่อไปนี้ดังนี้
* กลุ่มภาษาเกาหลี (Korean) ได้แก่ [[ภาษาเกาหลี]]
* [[ตระกูลกลุ่มภาษาญี่ปุ่น]]-รีวกีว (Japanese-Ryukyuan) ได้แก่ [[ภาษาญี่ปุ่น]] [[ภาษาริวกิว]]
 
อย่างไรก็ดีนักวิชาการบางท่านอาจจัดกลุ่มภาษาเกาหลี-ญี่ปุ่นเป็นภาษาเอกเทศ (isolated language) เนื่องจากลักษณะบางอย่างในภาษาไม่สอดคล้องกับตระกูลภาษาอัลตาอิก เช่น ภาษาเกาหลีในปัจจุบันไม่เคร่งครัดกฎความสอดคล้องกลมกลืนของสระ ภาษาญี่ปุ่นเป็นคำพยางค์คู่และพยางค์เปิด ไม่ปรากฏลักษณะของความสอดคล้องกลมกลืนของสระซึ่งเป็นลักษณะของตระกูลภาษาออสโตรนีเซีย ดังนั้นนักวิชาการบางคนจึงกล่าวว่า ภาษาญี่ปุ่นอาจมีตระกูลภาษาออสโตรนีเซียเป็นภาษาพื้นเดิม (substratum) ก่อนที่จะได้รับอิทธิพลจากตระกูลภาษาอัลตาอิก สาขาตุงกุส (superstratum) นอกจากนี้ภาษาทั้งสองยังได้รับอิทธิพลคำศัพท์มาจากภาษาจีนอย่างมากมาย รวมทั้งมีระดับภาษาที่ต่างกันเพื่อแสดงความสุภาพและสถานะของบุคคลซึ่งไม่ใช่ลักษณะของภาษาตระกูลนี้ แม้ว่าลักษณะของวากยสัมพันธ์จะเป็นแบบตระกูลภาษาอัลตาอิก และอาจมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสาขาภาษาตุงกุสมาก่อน
เส้น 48 ⟶ 52:
{{ตระกูลภาษามีคนพูดมาก 10 อันดับ}}
 
[[หมวดหมู่:ตระกูลภาษาอัลไต| ]]