ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุทกวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Hathaichanok Patkaew (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมเกี่ยวกับความหมายของอุทกวิทยา
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Land ocean ice cloud 1024.jpg|thumb|400px|น้ำปกคลุมร้อยละ 70 ของพื้นที่ผิวโลก]]
 
'''อุทกวิทยา''' ({{lang-en|hydrology}}) เป็คำเป็นคำที่มาจากภาษากรีก คือ νερό ซึ่งแปลว่า น้ำ (water) และ μελέτη ซึ่งแปลว่า การศึกษา (study)เป็นการศึกษาการเคลื่อนที่ การกระจาย และคุณภาพของ[[น้ำ]] รวมถึง[[วงจรอุทกวิทยา]] [[ทรัพยากรน้ำ]] และการดูแลน้ำอย่างยั่งยืน นักอุทกวิทยาจะมีพื้นความรู้ในด้าน [[ภูมิศาสตร์]] [[ธรณีวิทยา]] [[วิทยาศาสตร์โลก]] [[วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม]] [[วิศวกรรมโยธา]] และ [[วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม]]
"อุทกวิทยา" ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พ.ศ.2542) หมายถึง วิชาที่ว่าด้วยน้ำที่มีอยู่ในโลก ดังนั้น งานด้านอุทกวิทยาจึงหมายถึง งานที่เกี่ยวกับการสำรวจ เก็บสถิติข้อมูล การศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยที่เกี่ยวเนื่องกับน้ำ ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อนำข้อมูลและความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการน้ำและการพัฒนาประเทศ
คำว่า ไฮโดรโลจี (hydrology) ในภาษาอังกฤษ มาจากภาษากรีกคำว่า [[wiktionary:ὕδωρ|ὕδωρ]] (ไฮโดร) ที่แปลว่า "น้ำ" และ [[wiktionary:λόγος|λόγος]] (โลโกส) ที่แปลว่า "ศึกษา"
บรรทัด 18:
 
== อ้างอิง ==
* {{cite book
* อุทกวิทยา Hydrology
|ผู้แต่งfirst=นิตยา
|last=หวังวงศ์วิโรจน์
|ชื่อหนังสือtitle= อุทกวิทยา
|URL=
|จังหวัดlocation=กรุงเทพฯ
|พิมพ์ที่publisher= มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
|ปีyear= [[พ.ศ. 2551]]
|ISBN=
}}
|จำนวนหน้า=
* {{cite book
|first= ดร. วีระพล
|last=แต้สมบัติ
*|title= หลักอุทกวิทยา Hydrology
|จังหวัดlocation= กรุงเทพฯ
|พิมพ์ที่publisher= หจก.สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์
|ISBN= 974-7414-37-6
}}
 
เส้น 34 ⟶ 42:
[[หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม]]
{{โครงความรู้}}
== อ้างอิง ==
* [[ อ้างอิงชื่อหนังสือ
|ผู้แต่ง= ดร. วีระพล แต้สมบัติ
|ชื่อหนังสือ= หลักอุทกวิทยา
|จังหวัด= กรุงเทพฯ
|พิมพ์ที่= หจก.สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์
|ISBN= 974-7414-37-6
[[หมวดหมู่:อุทกวิทยา]]
[[หมวดหมู่:วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ]]
[[หมวดหมู่:วิศวกรรมศาสตร์]]