ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเตลูกู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{Infobox Language
| name = เตลูกู
| nativename = తెలుగు เตลุกุเตลูกู
| familycolor = Dravidian
| states = [[ประเทศอินเดีย]]
บรรทัด 13:
| iso1 = te|iso2=tel|iso3=tel|notice=Indic}}
 
'''ภาษาเตลูกู''' (Telugu తెలుగు) อยู่ใน[[ตระกูลภาษาดราวิเดียน]] แต่มีอิทธิพลพอสมควรจาก[[ภาษากลุ่มอินโด-อารยัน]]ภายใต้ตระกูล [[ภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียน|อินโด-ยุโรเปียน]]และเป็น[[ภาษา]]ราชการของรัฐ[[อานธรประเทศ]] (Andhra Pradesh) ของ[[อินเดีย]] ภาษาเตลูกูเป็นตระกูลภาษาดราวิเดียนที่มีผู้พูดมากที่สุด เป็นภาษาที่พูดเป็นอันดับ 2 รองจาก[[ภาษาฮินดี]] และเป็นหนึ่งใน 22 [[ภาษาราชการของอินเดีย]] เขียนด้วย[[อักษรเตลุกุเตลูกู]]
 
ชาวอังกฤษใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] เรียกภาษาเตลูกูว่า ''[[ภาษาอิตาลี]]ของโลกตะวันออก'' (Italian of the East) เนื่องจากทุกคำในภาษาเตลูกูลงท้ายด้วยเสียง[[สระ]] แต่เชื่อว่านักสำรวจชาว[[อิตาลี]] [[นิกโกโลกโกเลาะ ดา คอนติกอนตี]] (Niccolò Da Conti) ได้คิดวลีนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 15
 
== จุดกำเนิด ==
บรรทัด 45:
ภาษาเตลูกูเป็นหนึ่งในภาษาราชการ 22 ภาษาของอินเดีย เป็นภาษาราชการของรัฐอานธรประเทศตั้งแต่การสถาปนารัฐเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2496 และยังเป็นภาษาราชการใน[[ตำบลยานัม]]ของสหภาพพอนดิเชอร์รี
== สำเนียง ==
ภาษาเตลูกูมีสำเนียงต่างกัยมากมายกันมากมาย สำเนียงมาตรฐานของภาษาเตลูกูเรียกสุทธภาษา
== ไวยากรณ์ ==
ในภาษาเตลุกุเตลูกูจะเรียงประโยคจาก ''กรรตะ'' కర్త (ประธาน), ''กรรมะ'' కర్మ (กรรม) และ ''กริยะ'' క్రియ (กริยา) ภาษาเตลุกุเตลูกูมีการใช้ ''วิภักถิ'' విభక్తి (บุพบท) ด้วย
 
{| style="background:transparent;"
บรรทัด 56:
 
=== การผันคำ ===
ภาษาเตลุกุเตลูกูเป็นภาษารูปคำติดต่อซึ่งมีการเติมพยางค์ที่แน่นอนที่ท้ายคำเพื่อแสดงการก
{| style="background:transparent;"
| '''การกเครื่องมือ'''
บรรทัด 71:
|}
 
การต่อคำเช่นนี้ใช้กับคำนามทุกชนิดทั้งในรูปเอกพจน์และพหูพจน์ ตารางต่อไปนี้แสดงการกอื่นๆอื่น ๆ ในภาษาเตลุกุเตลูกู
 
==== การกแสดงตำแหน่ง ====
บรรทัด 78:
|- bgcolor="#ddddff"
! การก !! การใช้
! ภาษาไทย!! ตัวอย่างภาษาเตลุกุเตลูกู
|-
| แสดงความใกล้เคียง || ตำแหน่งใกล้เคียง
บรรทัด 98:
|- bgcolor="#ddddff"
! การก !! การใช้
! ภาษาไทย!! ตัวอย่างภาษาเตลุกุเตลูกู
|-
| แสดงการเข้าหา || เคลื่อนเข้าไปใกล้บางสิ่ง
บรรทัด 127:
|- bgcolor="#ddddff"
! การก !! การใช้
! ภาษาไทย!! ตัวอย่างภาษาเตลุกุเตลูกู
|-
| แสดงแนวโน้ม|| กรณีทั่วไป ทุกสถานการณ์ ยกเว้นเป็นประธาน
บรรทัด 138:
|- bgcolor="#ddddff"
! การก !! การใช้
! ภาษาไทย!! ตัวอย่างภาษาเตลุกุเตลูกู
|-
| แสดงการใช้ประโยชน์|| สำหรับ
บรรทัด 154:
 
=== การเชื่อมคำอย่างซับซ้อน ===
ตัวอย่างที่แสดงมาทั้งหมดเป็นการเชื่อคำเพียงระดับเดียว ภาษาเตลุกุเตลูกูมีการเชื่อมคำโดยใช้ปัจจัยหลายตัวเชื่อมต่อกับตำเพื่อให้เกิดคำที่ซับซ้อนขึ้นได้
ตัวอย่างเช่น อาจเติมทั้ง "నుంచి; นินชิ - จาก" และ "లో; โล - ใน" เข้ากับคำนามเพื่อหมายถึงภายใน เช่น "రాములోనుంచి; รามุโลนินชิ - จากข้างในของรามะ" หรือตัวอย่างการเชื่อมต่อ 3 ระดับ: "వాటిమధ్యలోనుంచి; {{Unicode|vāṭimadʰyalōninchi}} - จากในระหว่างพวกเขา"
 
=== คำสรรพนามที่ครอบคลุม/ไม่ครอบคลุม ===
ภาษาเตลุกุเตลูกูมีสรรพนาม "เรา" 2 คำ คือรวมผู้ฟัง (మనము; ''มะนะมุ'') กับไม่รวมผู้ฟัง (మేము; ''เมมุ'') เช่นเดียวกับ[[ภาษาทมิฬ]]และ[[ภาษามาลายาลัม]] แต่ลักษณะนี้ไม่พบใน[[ภาษากันนาดา]]สมัยใหม่
 
== คำศัพท์ ==
ภาษาเตลุกุเตลูกูมีรากศัพท์ที่มาจากภาษาในกลุ่มดราวิเดียนเอง โดยมากเป็นศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับเรื่องทั่วไปหรือในชีวิตประจำวัน เช่น తల; ตะละ (หัว), పులి; ปุลิ (เสือ), ఊరు; อูรุ (เมือง) อย่างไรก็ตาม ภาษาเตลุกุเตลูกูมีศัพท์จาก[[ภาษาสันสกฤต]]และ[[ภาษาปรากฤต]]ปนอยู่มาก อิทธิพลที่สำคัญอย่างหนึ่งคือ การที่กษัตริย์ศตวหนะให้ใช้ภาษาปรากฤตเป็นภาษาราชการแม้ว่าคนส่วนใหญ่จะพูดภาษาเตลุกุเตลูกู
 
== ระบบการเขียน ==
''บทความหลัก:[[อักษรเตลุกุเตลูกู]]''
 
เชื่อกันว่าอักษรเตลุกุเตลูกูได้รับอิทธิพลจากอักษรพราหมีสมัยอโศก และใกล้เยงกับอักษรจาลุกยะที่พ่อค้าจากอินเดียนำไปเผยแพร่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กลายเป็นต้นแบบของอักษรในบริเวณดังกล่าวรวมทั้งอักษรไทย อักษรจามและอักษรบาหลี ความคล้ายคลึงระหว่างอักษรเตลุกุเตลูกูกับอักษรเหล่านี้ยังพบได้ในปัจจุบัน
 
อักษรเตลุกุเตลูกูเขียนจากซ้ายไปขวา หน่วยย่อยของการเขียนคือพยางค์ แต่ละพยางค์ประกอบด้วยสระ (อัชชุหรือสวระ) และพยัญชนะ (หัลลุหรือวยันชัน) พยัญชนะที่เรียงกันเป็นกลุ่ม บางตัวมีรูปต่างไปจากเดิม พยัญชนะมีทั้งรูปบริสุทธิ์ที่ไม่มีเสียงสระและรูปที่มีเสียงอะ เมื่อรวมสระกับพยัญชนะ สระจะเป็นเครื่องหมายติดกับพยัญชนะเรียก มาตรัส ซึ่งมีรูปร่างต่างจากสระปกติ
 
อักษรเตลุกุเตลูกูมีทั้งหมด 60 เครื่องหมาย เป็นสระ 16 ตัว ตัวเปลี่ยนสระ 3 ตัว พยัญชนะ 41 ตัว มีการเว้นช่องว่างระหว่างคำ เมื่อจบประโยคจะจบด้วยเส้นเดี่ยว (ปุรนา วิรมะ) หรือเส้นคู่ (กีรฆา วิรมะ)
{{วิกิภาษาอื่น|te}}
{{ภาษาราชการอินเดีย}}