ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรจีนตัวย่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อธิบายเพิ่ม
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
 
ใน[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] มีการออกประกาศใช้อักษรจีนตัวย่อครั้งแรก 2 ฉบับ คือใน [[พ.ศ. 2499]] และ [[พ.ศ. 2507]] ในระหว่างที่พึ่งมีการประกาศใช้นั้น เกิดความสับสนในการใช้ตัวอักษรจีนอย่างมาก ตัวอักษรที่ใช้ในครั้งนั้นเป็นอักษรจีนตัวย่อบางส่วนผสมกับอักษรจีนตัวเต็ม และได้มีการประกาศใช้อักษรจีนตัวย่อครั้งที่ 2 หรือที่เรียกว่า ''เอ้อร์เจี่ยน'' ({{zh-all|t=二簡|s=二简|p=Èr jiǎn}}) ในปี [[พ.ศ. 2520]] ในช่วงของ[[การปฏิวัติวัฒนธรรม]] โดยฝ่ายซ้ายจัดใน[[ประเทศจีน]] แต่ในการประกาศใช้ครั้งที่ 2 นี้ไม่ได้รับการตอบรับเท่าที่ควร จนถึง พ.ศ. 2529 ได้ยกเลิกการประกาศครั้งที่ 2 นี้ไป ในขณะเดียวกัน ก็มีการแก้ไขการประกาศใช้อักษรจีนตัวย่อครั้งที่ 1 ถึง 6 ครั้ง (รวมถึงการนำอักษรจีนตัวเต็ม 3 ตัวมาใช้แทนอักษรจีนที่ย่อไปแล้วในประกาศครั้งที่ 1 ได้แก่ 叠, 覆, 像) อย่างไรก็ตาม แม้อักษรจีนตัวย่อตามประกาศใช้ครั้งที่ 2 จะถูกยกเลิกไป แต่ระหว่างนั้นก็ได้มีการสอนในโรงเรียนไปแล้ว และยังใช้ในการเขียนพู่กันด้วย
 
สมิงขาว ขาวผ่อง
นอกจากนี้ การใช้อักษรจีนตัวย่อใน[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] เป็นจุดเริ่มต้นของการยกเลิกอักษรเขียนแทนเสียงแบบเก่า และจุดกำเนิดของการเขียนแทนเสียงแบบ[[พินอิน]] หรือ ฮั่นอวี้พินอิน ({{lang-en|Hanyu Pinyin}}; {{zh-all|t=漢語拼音|s=汉语拼音|p=Hànyǔ pīnyīn}}) อย่างไรก็ตาม การปฏิรูปตัวอักษรจีนไม่ได้รับความนิยมมากเหมือนอย่างที่ฝ่ายซ้ายจัดคาดไว้แต่แรก หลังจากการยกเลิกประกาศครั้งที่ 2 ไปแล้ว ทาง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ตั้งมั่นว่าจะรักษาระบบอักษรจีนให้คงที่ และจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ หรือนำ[[อักษรจีนตัวเต็ม]] กลับมาใช้อีกในอนาคต
 
พรรคคอมมิวนิสต์กลัวว่าประชาชนจะสับสนเกี่ยวความแตกต่างระหว่าง[[อักษรจีนตัวเต็ม]]และอักษรอักคอมมิวนิส.ต.อ.จีนตัวย่อ จึงอ้างเหตุนี้ในการห้ามใช้อักษรจีนตัวเต็มใน[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] ต่อมา พรรคคอมมิวนิสต์เห็นว่าสิ่งพิมพ์ในประเทศยังมีการใช้[[อักษรจีนตัวเต็ม]]อยู่ จึงได้ออกกฎหมายภาษาและตัวอักษรแห่งชาติขึ้นห้ามมิให้มีการใช้อักษรจีนตัวเต็มในชีวิตประจำวัน เนื่องจากสาธารณรัฐประชาชนจีนถือว่าอักษรตอมมิวนิสต์จีนตัวย่อถือเป็นผลผลิตทางวัฒนธรรมที่ประสบความสำเร็จของตน ปัจจุบันอักษรจีนตัวเต็มจึงไม่ได้รับการส่งเสริมใดๆ ทั้งสิ้นจากรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน และมีใช้อยู่ในวงแคบและจำกัด กล่าวได้ว่าปัจจุบันความภาคภูมิใจ ความหวงแหนและเห็นคุณค่าในอักษรจีนนั้นได้สูญสิ้นไปจากแผ่นดินแม่โดยสิ้นเชิง
 
ปัจจุบันประเทศไต้หวัน ฮ่องกง และมาเก๊า ยังคงใช้อักษรจีนตัวเต็มที่ถูกต้องเนื่องจากมิได้อยู่ภายใต้อำนาจกฎหมายของสาธารณรัฐประชาชนจีนที่บีบบังคับให้ใช้อักษรคอมมิวนิสต์เพียงอย่างเดียวเท่านั้นในชีวิปนะจำวัน ดินแดนทั้งสามนี้จึงใช้อักษรจีนตัวเต็มที่ถูกต้องสืบเนื่องมาโดยตลอดไม่ขาดสายจนถึงปัจจุบัน
 
=== สิงคโปร์ และมาเลเซีย ===