ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่พระพิลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
พระองค์มีพระนามว่ากระไรไม่ปรากฏ มีการกล่าวถึงใน[[สมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดา มหาดิลกรัตนราชนาถกรรโลง#พระพุทธรูปแม่ศรีมหาตา|จารึกฐานพระพุทธรูปแม่ศรีมหาตา]]เรียกว่า “แม่พระพิลก”<ref >{{cite web |url= http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=101 |title= จารึกฐานพระพุทธรูปแม่ศรีมหาตา |author=|date=|work= ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์มหาชน) |publisher=|accessdate= 18 กันยายน 2559}}</ref><ref>คณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. ''ประชุมจารึกภาคที่ 8 จารึกสุโขทัย ‎(จารึกฐานพระพุทธรูปแม่ศรีมหาตา)''. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2547, หน้า 250</ref> พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ว่าคือพระราชชนนีมหาเทวีใน[[พระเจ้าติโลกราช]]<ref name="พิเศษ1">พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. ''การเมืองในประวัติศาสตร์ ยุคสุโขทัย-อยุธยา พระมหาธรรมราชา กษัตราธิราช''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มติชน, 2553, หน้า 48</ref> ส่วน[[ชินกาลมาลีปกรณ์]]เรียกว่า “พระเทวี”<ref name="ชินกาล">พระรัตนปัญญา (เขียน) แสง มนวิทูร (แปล). ''ชินกาลมาลีปกรณ์''. พิมพ์เป็นอนุสรณ์แก่นายกี นิมมานเหมินท์ เนื่องในวันเปิดตึกคนไข้พิเศษ “นิมมานเหมินท์-ชุติมา”. กรุงเทพฯ : มิตรนราการพิมพ์, 2510, หน้า 125</ref> พระองค์เป็นน้องสาวของหมื่นโลกนครเจ้าเมือง[[ลำปาง]] (ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นหมื่นโลกสามล้านในรัชกาลพระเจ้าติโลกราช)<ref>เฉลิมวุฒิ ต๊ะคำมี. ''ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นปกครองของล้านนาและสุโขทัย : ข้อคิดใหม่และข้อสังเกตบางประการ''. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559, หน้า 94</ref> พระองค์มีความสัมพันธ์บางประการกับ[[นครรัฐแพร่|เมืองแพร่]]<ref>เฉลิมวุฒิ ต๊ะคำมี. ''ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นปกครองของล้านนาและสุโขทัย : ข้อคิดใหม่และข้อสังเกตบางประการ''. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559, หน้า 93</ref><ref name="พิเศษ">พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. ''ฟื้นฝอยหาตะเข็บ''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2553, หน้า 215</ref> อาจมีความสัมพันธ์เครือญาติกับ[[อาณาจักรสุโขทัย|เมืองสุโขทัย]]ด้วย ดังปรากฏการทำบุญสร้างพระพุทธรูปเจ้าแม่ศรีมหาตาร่วมกับพระราชชนนีของพระมหาธรรมราชาพระองค์หนึ่งของสุโขทัย<ref>เฉลิมวุฒิ ต๊ะคำมี. ''ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นปกครองของล้านนาและสุโขทัย : ข้อคิดใหม่และข้อสังเกตบางประการ''. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559, หน้า 96, 103</ref><ref name="สารานุกรม">{{cite web |url= http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=24&chap=3&page=t24-3-infodetail02.html |title= เมืองเชียงใหม่ |author=|date=|work= สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว |publisher=|accessdate= 27 ตุลาคม 2559}}</ref> เฉลิมวุฒิ ต๊ะคำมีว่าพระองค์มีความสัมพันธ์ฉันญาติกับพระบรมครูติโลกดิลกติรัตนศิลคันธวันวาสีว่าอาจเป็นพระชนกของแม่พระพิลก ซึ่งสอดคล้องกับพระนามของ[[พระเจ้าติโลกราช]] พระราชโอรสตามทำเนียมการนำชื่อบรรพบุรุษมาตั้งชื่อหลาน<ref>เฉลิมวุฒิ ต๊ะคำมี. ''ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นปกครองของล้านนาและสุโขทัย : ข้อคิดใหม่และข้อสังเกตบางประการ''. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559, หน้า 107-111</ref> ส่วนพิเศษ เจียจันทร์พงษ์ว่าแม่พระพิลกเป็นพี่น้องหรือเครือญาติกับนางษาขาพระราชชนนีใน[[พระมหาธรรมราชาที่ 4]]<ref>พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. ''ฟื้นฝอยหาตะเข็บ''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2553, หน้า 219</ref>
 
หลังการอภิเษกสมรสกับ[[พญาสามฝั่งแกน]] ประสูติกาลพระราชโอรสคือ[[พระเจ้าติโลกราช]]พระราชโอรสลำดับหกซึ่งอยู่ห่างไกลต่อการสืบราชสมบัติ แต่จากการสนับสนุนของกลุ่มเจ้านายลำปาง-เขลางค์ ญาติวงศ์ฝ่ายพระราชชนนี จึงทำให้พระเจ้าติโลกราชยึดราชสมบัติจากพระราชชนกและครองราชสมบัติในปี พ.ศ. 1985<ref name="พิเศษ1"/><ref name="พิเศษ1"/><ref>เฉลิมวุฒิ ต๊ะคำมี. ''ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นปกครองของล้านนาและสุโขทัย : ข้อคิดใหม่และข้อสังเกตบางประการ''. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559, หน้า 97</ref> ซึ่งพระมหาเทวีมีบทบาททางการเมืองสูงมาก เพราะพระเจ้าติโลกราชยังครองราชย์ปกครองบ้านเมืองอยู่ภายใต้ดุลยพินิจของพระมหาเทวี<ref>เฉลิมวุฒิ ต๊ะคำมี. ''ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นปกครองของล้านนาและสุโขทัย : ข้อคิดใหม่และข้อสังเกตบางประการ''. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559, หน้า 105</ref> ปรากฏการกล่าวถึงทั้งสองพระองค์คู่กันว่า '''มหาราชเจ้าทั้งสองพระองค์''' หรือ '''พระเป็นเจ้าแม่ลูก''' มาตลอด<ref name="สารานุกรม"/> และยังปรากฏใน ''ชินกาลมาลีปกรณ์'' ว่าพระมหาเทวีสำเร็จราชการปกครองอาณาจักรเพียงลำพังพระองค์ ความว่า<ref name="ชินกาล"/>
 
<blockquote>