ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดินโปเลียนที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ลูเซียง" → "ลูว์เซียง" +แทนที่ "ลูเซียน" → "ลูว์เซียง" +แทนที่ "โจเซฟ โบนาปาร์ต" → "โฌแซ็ฟ โ...
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 77:
[[ไฟล์:Bonapatre et le consulat.jpg|280px|thumb|นโปเลียนก่อรัฐประหาร]]
{{บทความหลัก|รัฐประหาร 18 บรูว์แมร์}}
เมื่อนายพลนโปเลียนเดินทางกลับมาถึงกรุงปารีส เขาได้เข้าพบปะสนทนากับ[[ตัลเลย์ร็อง]] ผู้ดำรงตำแหน่ง [[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ]] นักการเมืองผู้มีประสบการณ์ และผู้รู้เกมการเมืองเป็นอย่างดี เขาได้ช่วยเตรียมการก่อรัฐประหาร โค่นล้ม[[ระบอบปกครองโดยคณะมนตรี]]ดีแร็กตัวร์ ซึ่งเป็นฝ่ายบริหารที่กำลังอ่อนแอและประชาชนเกลียดชัง โดยการโน้มน้าวผู้แทนราษฎรเลือกรัฐบาลใหม่ บีบให้หัวหน้าคณะรัฐบาลเดิมลาออก แล้วเลือกหัวหน้ารัฐบาลใหม่เข้ามาแทน ประกอบด้วยบุคคลสามคนที่ปราศจากมลทิน อันได้แก่ [[เอ็มแอมานูเอลนุแอล โฌแซฟโฌแซ็ฟ ซีแยส์เยแย็ส]], [[โรเฌ่ร์รอเฌ ดือโกส์ดูว์โก]] (สมาชิก[[คณะมนตรีแห่งการปฏิวัติ]]ดีแร็กตัวร์สองในจำนวนทั้งหมดห้าคน) และนโปเลียน ผู้ซึ่งได้รับความไว้วางใจ ให้มาเป็นส่วนหนึ่งของแผนการ นับตั้งแต่เขายอมไปออกรบที่[[อียิปต์]] และกลับมาในฐานะวีรบุรุษ วัตถุประสงค์ของการก่อรัฐประหารครั้งนี้ก็เพื่อสร้างความมั่นใจให้ฝ่ายปฏิรูปหัวก้าวหน้า (ที่ต้องการรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งตรงข้ามกับพวกจาโคบังที่ยึดติดกับระบอบกษัตริย์) ว่าจะยังรักษาความมั่งคั่งไว้ได้ต่อไป และนโปเลียนที่เชื่อในระบอบสาธารณรัฐยอมก็เสี่ยงกับแผนการดังกล่าว เพราะมีกระแสจะนำ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 18]] มาขึ้นครองราชย์และฟื้นฟูระบอบกษัตริย์ ซึ่งหมายความว่าการปฏิวัติฝรั่งเศสที่ผ่านมานั้นไร้ผล
 
หลังจากที่ฝ่ายปฏิรูปหัวก้าวหน้าสามารถโน้มน้าวให้[[วุฒิสภา]]สภาสูงเห็นชอบกับการล้มล้าง[[ระบอบปกครองโดยคณะมนตรี]]ได้แล้วดีแร็กตัวร์ได้แล้ว แผนการของการก่อรัฐประหารเมื่อวันที่ [[9 พฤศจิกายน|18 เดือนบรูว์แมร์]] [[พ.ศ. 2342]] (ค.ศ. 1799) (ตาม[[ระบบปฏิทินของสาธารณรัฐฝรั่งเศส]]) ประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ นโปเลียนจะดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด เพื่อรักษาความสงบในกรุงปารีสและใน[[รัฐสภา]] จากนั้นจึงจัดการโยกย้ายที่ทำการ[[รัฐสภา]]ไปยังพระราชวังแซ็ง-กลู บริเวณชานเมือง[[แซงต์-กลูด์]]ปารีส เพื่อไม่ให้เกิดการจลาจลในกรุงปารีสขณะก่อรัฐประหาร และสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ โดยอ้างเหตุผลว่าลัทธิ[[ฌาโกแบง]]กำลังเสี่ยงต่อภัยคุกคามถึงขั้นถูกล้มล้างได้ ซึ่งในความเป็นจริงก็เป็นเช่นนั้น นับตั้งแต่[[พ.ศ. 2332]] (ค.ศ. 1789) เป็นต้นมา รัฐสภาก็ถูกประชาชนชาวปารีสคุกคามมาโดยตลอด
 
เหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้นในวันที่ [[10 พฤศจิกายน|19 เดือนบรูว์แมร์]] ที่เมือง[[แซงต์พระราชวังแซ็ง-กลูด์]]กลู ฝ่ายปฏิรูปหัวก้าวหน้าได้เตรียมการเกลี้ยกล่อมให้[[คณะมนตรีแห่งการปฏิวัติ]]ห้าคนดีแร็กตัวร์ห้าคน ยกขบวนลาออกจากรัฐสภาแห่งชาติ รวมทั้งให้[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติห้าร้อยคน]]เลือกรัฐบาลใหม่ แต่แผนการดำเนินไปอย่างล่าช้าเนื่องจากแนวคิดนี้ไม่ได้รับฉันทามติจากทุกฝ่าย โดยเฉพาะพวก[[ฌาโกแบง]]สองคนไม่ยอมลาออก นโปเลียนเฝ้ารอและตัดสินใจเข้าแทรกแซงในที่สุด
 
เขาได้นำกำลังทหารเข้าไปในห้องประชุมสมาชิก[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติห้าร้อยคน]] ที่กำลังถกเถียงกันอย่างเผ็ดร้อน และได้พยายามพูดโน้มน้าวให้สภาดังกล่าวยอมรับการโค่นล้มระบอบปกครองโดยมุขมนตรีคณะดีแร็กตัวร์ แต่ไม่มีผู้แทนคนใดยอมรับฟัง การเข้าแทรกแซงดังกล่าวทำให้นโปเลียนถูกบังคับให้ลาออกจากรัฐสภาแห่งชาติ แต่สถานการณ์กลับตาลปัตรเมื่อมีผู้พยายามลอบแทงนโปเลียนในห้องประชุมสภา ฝ่ายได้เปรียบกลายเป็นฝ่ายนโปเลียนและ[[ลูว์เซียง โบนาปาร์ต]] น้องชายของนโปเลียนผู้ซึ่งเป็นผู้กุมบังเหียนของสภานิติบัญญัติแห่งชาติห้าร้อยคนเอาไว้ ลูว์เซียงต้องการช่วยนโปเลียนจากสถานการณ์คับขัน จึงจัดการให้มีผู้ลอบแทงนโปเลียนเพื่อหาความชอบธรรมให้กองทัพเข้าแทรกแซง ภาพของผู้แทนที่โผล่มาจากทางหน้าต่างเพื่อลอบแทงนโปเลียนแพร่กระจายไปทั่ว นโปเลียนเป็นผู้ได้เปรียบในสถานการณ์นี้อย่างมาก เขาอ้างว่าถูกสมาชิกรัฐสภาใส่ร้ายว่าจะก่อรัฐประหารและเกือบจะถูกลอบสังหาร ทำให้เขาสามารถนายพล[[ฌออากีม มูว์รา]]มีข้ออ้างนำกองทัพเข้าบุกรัฐสภาที่เมืองแซงต์พระราชวังแซ็ง-กลูดกลู และก่อรัฐประหารได้สำเร็จในที่สุด
 
แม้จะก่อรัฐประหารสำเร็จ แต่นโปเลียนก็ยังยึดติดกับรูปแบบการปกครองโดยกระบวนการทางกฎหมายอยู่ ในคืนวันที่ [[10 พฤศจิกายน|19 เดือนบรูว์แมร์]] หลังก่อรัฐประหารสำเร็จ คณะผู้แทนยังคงอยู่ที่[[แซงต์-กลูด]]เพื่อลงมติเสนอรายชื่อคณะกรรมาธิการสองชุดในการเตรียมร่างรัฐธรรมนูญใหม่ แสดงให้เห็นได้ว่า นโปเลียนต้องการผลักดันให้มีระบอบการปกครอง ที่กิจการต่าง ๆ ของรัฐผ่านการลงมติจากคณะผู้แทนราษฎร
 
วันที่ [[11 พฤศจิกายน|20 เดือนบรูว์แมร์]] [[กงสุล]]สามคนได้รับการแต่งตั้งให้บริหารประเทศ ได้แก่ นโปเลียน, [[เอ็มแอมานูเอลนุแอล โฌแซฟโฌแซ็ฟ ซีแยส์เยแย็ส]] และ[[โรเฌ่ร์รอเฌ ดือโกส์ดูว์โก]] นับเป็นจุดเริ่มต้นระบบการปกครองโดย[[คณะกงสุลฝรั่งเศส|คณะกงสุล]]
 
นโปเลียนได้ประกาศว่า ''"ประชาชนทั้งหลายสาธารณชนเอ๋ย...การปฏิวัติยังคงยึดมั่นบนตามวิถีหลักการเดียวกันกับเมื่อมันที่ได้เริ่มต้นเริ่มขึ้นมานั้น นั่นคือ การปฏิวัติได้สิ้นสุดลงแล้ว!"''' <ref>ต้นฉบับในภาษาฝรั่งเศส: "Citoyen,la Révolution est fixée aux principe qui l'avait commencée elle est finie!"''' ''</ref> ระบอบกงสุลได้ถูกจัดตั้งขึ้น เป็นระบอบการปกครองที่อำนาจเบ็ดเสร็จอยู่ในมือกงสุลสามคน ซึ่งอันที่จริงแล้ว มีเพียงกงสุลเอกเท่านั้นที่กุมอำนาจไว้อย่างแท้จริง ฝรั่งเศสเตรียมเข้าสู่ยุคใหม่ที่ประชาชนในชาติจะต้องฝากชะตาไว้ในมือของจักรพรรดิ
 
== จากกงสุลกลายเป็นจักรพรรดิ ==