ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plamnakpandin (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Plamnakpandin (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 32:
หลังจากการรุกอย่างรวดเร็วของ[[กองทัพกลุ่มกลาง]] มุ่งไปสู่การทำลายส่วนกลางของ [[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบด้านตะวันออก]] โดยโจมตีจุดยุทธศาสตร์สำคัญ ร่วมกับ [[กองทัพกลุ่มใต้]] ในช่วงปลายเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1941 ทหารโซเวียตก็ถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน จุดยุทธศาสตร์สำคัญเกือบทั้งหมดของ[[แนวรบตะวันตกเฉียงใต้ (สหภาพโซเวียต|กองพลตะวันตกเฉียงใต้]] ในรอบเมือง[[เคียฟ]] {{sfn|Glantz|2011|pp=54-55}}{{sfn|Clark|1965|p=130}} ซึ่งกำลังขาดแคลนยานเกราะและรถถัง
 
ในวันที่ 3 สิงหาคม ฮิตเลอร์ออกคำสั่งให้หยุดการรุกสู่[[มอสโก]]เป็นการชั่วคราวและสั่งให้เคลื่อนทัพลงใต้และโจมตี[[เคียฟ]]ใน[[ยูเครน]]{{sfn|Clark|1965|p=101}} อย่างไรก็ตามในวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ.1941 [[:en:List of Adolf Hitler's directives|คำสั่งส่งกำลังเสริมครั้งที่ 34]] ก็ถูกดำเนินการแต่ก็ถูกต่อต้านโดยนายทหารภาคสนามบางส่วน แต่ฮิตเลอร์ก็มีความมั่นใจและเชื่อว่าจะสามารถทำลายจุดยุทธศาสตร์สำคัญของทหารโซเวียตได้ในทางด้านปีกขวาของ[[กองทัพกลุ่มกลาง]] ในแถบรอบเมือง[[เคียฟ]] ก่อนจะทำการรุกสู่มอสโก และมีนายพลที่ต่อต้านคือ[[:en:Franz Halder|ฟรานซ์ ฮอลเดอร์]],[[:en:Fedor von bock|เฟดอร์ ฟอน บอค]],[[ไฮนซ์ กูเดเรียน|ไฮนซ์ กูเดเรียน]] ว่าควรรุกสู่มอสโกต่อไปแต่ฮิตเลอร์ไม่ฟังและสั่งให้ [[กลุ่มแพนเซอร์ที่สอง|กลุ่มแพนเซอร์ที่สอง]] และ [[กลุ่มแพนเซอร์ที่สาม|กลุ่มแพนเซอร์ที่สาม]] ของ[[กองทัพกลุ่มกลาง]] ได้ถูกปรับเปลี่ยนให้ได้รับคำสั่งช่วยเหลือ[[กองทัพกลุ่มเหนือ]] และ [[กองทัพกลุ่มใต้]] ตามลำดับก่อนที่จะกลับมาอยู่กองทัพกลุ่มกลางร่วมกับ[[กลุ่มแพนเซอร์ที่สี่]] ของกองทัพกลุ่มเหนือ ครั้งหนึ่งจุดประสงค์ของแม่ทัพกองทัพกลุ่มกลางเคยประสบความสำเร็จในการที่มีกลุ่มแพนเซอร์สามกลุ่มภายใต้การควบคุมของ กองทัพกลุ่มกลาง ในการรุกสู่มอสโก{{sfn|Glantz|2011|p=55}} ในขั้นต้น นายพลฮอลเดอร์หัวหน้าของ[[กองบัญชาการทหารสูงสุดของเยอรมัน|กองบัญชาการทหารสูงสุดของเยอรมัน]] ฝ่ายพนักงานทั่วไปและนายพลบอค นายพลแห่งกองทัพกลุ่มกลาง เกิดความพึงพอใจในแผนการนี้แต่ก็ถูกต่อต้านเมื่อนำไปเทียบกับความเป็นจริง{{sfn|Glantz|2011|p=56}}
 
ในวนที่ 18 สิงหาคม [[:en:Oberkommando des Heeres|กองบัญชาการทหารสูงสุดเยอรมัน]] ส่งจดหมายการพิจารณาเกี่ยวกับจุดยุทธศาสตร์ถึง[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์|ฮิตเลอร์]] เกี่ยวกับปฏิบัติการใน[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา]] ในกระดาษเขียนเกี่ยวกับเรื่องการรุกสู่มอสโกและการโต้เถียงเกี่ยวกับว่าการที่กองทัพกลุ่มเหนือและกองทัพกลุ่มใต้มีความแข็งแกร่งพอที่จะบรรลุเป้าหมายหรือไม่ การที่กองทัพกลุ่มกลางขาดการสนับสนุน และ การชี้ถึงเวลาว่าจะสามารถยึดมอสโกได้อย่างเด็ดขาดในช่วงก่อนฤดูหนาวหรือไม่{{sfn|Glantz|2011|p=56}}
 
วันที่ 20 สิงหาคม ฮิตเลอร์ปฏิเสธแผนการทำลายเขตอุตสาหกรรมที่สำคัญของโซเวียต ในวันที่ 21 สิงหาคม [[:en: Alfred Jodl|อัลเฟร็ด โจล]] แห่ง [[:en:Oberkommando der Wehrmacht|กองบัญชาการกองทัพบกเยอรมัน]] ได้ออกคำสั่งของฮิตเลอร์ถึงนายพล [[:en:Walther von Brauchitsch|วัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์]] ผู้บัญชาการกองทัพบก คำสั่งนั้นย่ำว่าต้องยึดมอสโกให้ได้ก่อนฤดูหนาวเท่านั้นและเป็นคำสั่งที่ค่อนข้างสำคัญมากก่อนจะนำทัพไปยึด[[คาบสมุทรไครเมีย]] กับแหล่งอุตสาหกรรมและถ่านหินในแถบลุ่มแม่น้ำ[[แม่น้ำดอน|แม่น้ำดอน]] ก่อนจะแยกกำลังไปยึดแหล่งน้ำมันใน[[คอเคซัส]] ก่อนจะค่อยยึดส่วนที่เหลือของสหภาพโซเวียตต่อไปและทางด้านเหนือก็โอบล้อม[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก|เลนินกราด]] และเชื่อมกับทหารฟินแลนด์ส่วนอุตสาหกรรมอื่นๆจะเป็นหน้าที่ของกองทัพกลุ่มกลาง คือ การจัดสรรทรัพยากรกับทำลายกองพลรัสเซียนที่ 5 และป้องกันการโต้กลับของโซเวียตในแถบภาคกลาง{{sfn|Glantz|2011|p=57}} {{sfn|Glantz|2011|p=60}} [[:en:Franz Halder|ฟรานซ์ ฮอลเดอร์]] ถึงกับตกตะลึงและไปอธิบายกับฮิตเลอร์ในภายหลังว่า"มันเพ้อฝันเกินไปและมันเป็นไปไม่ได้"แต่คำสั่งก็ถูกสั่งการออกไปและฮิตเลอร์เป็นคนเดียวที่ต้องรับความผิดชอบในคำสั่งนี้และทำให้เกิดความขัดแย้งภายในมากขึ้นและมันก็เป็นการสะท้อนในเจตนาของฮิตเลอร์[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา]] ที่[[กองบัญชาการทหารสูงสุดเยอรมัน|กองบัญชาการทหารสูงสุดเยอรมัน]] ตระหนักมาตลอด{{sfn|Glantz|2011|p=58}} [[:en:เจอฮาร์ด เอนเจิล|เจอฮาร์ด เอนเจิล]] ในไดอารี่ของเขาลงวันที่ 21 สิงหาคม ค.ศ.1941"มันเป็นวันที่เลวร้ายที่สุดของกองทัพบก".{{sfn|Glantz|2011|p=59}} ฮอลเดอร์ประกาศลาออกและให้คำแนะนำแก่เบราชิทช์ แต่อย่างไรก็ตามแก่เบราชิทช์ก็ปฏิเสธและฮิตเลอร์ก็นิ่งเฉยต่อการกระทำของเขาจนในที่สุดฮอลเดอร์ก็ถอนใบลาออก {{sfn|Glantz|2011|p=58}}
 
ในวันที่ 23 สิงหาคม [[:en:Franz Halder|ฟรานซ์ ฮอลเดอร์]] เรียกประชุมกับนายพล ฟอน บอค และนายกูเดเรียนใน [[บารีซอฟ|บารีซอฟ]] (ใน [[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย]]) และหลังจากการไปพบ[[ฮิตเลอร์]]ที่ฐานทัพในปรัสเซียตะวันออกกับนายพลกูเดเรียนและระหว่างการพบ [[ฮิตเลอร์]] และ [[ไฮนซ์ กูเดเรียน|กูเดเรียน]]{{sfn|Guderian|1952|p=200}} และต่อต้านข้อเสนอของ[[:en:Franz Halder|ฟรานซ์ ฮอลเดอร์]] และ [[:en:Walther von Brauchitsch|วัลเทอร์ ฟอน เบราชิทช์]] และกูเดเรียนได้รับอนุญาติจากฮิตเลอร์ให้นำทัพในการรุกสู่[[มอสโก]] และปฏิเสธการต่อต้าน ฮิตเลอร์อ้างว่าการตัดสินใจของตนจะทำให้ภาคเหนือ([[รัฐบอลติก]]) กับ ภาคใต้([[ยูเครน]])ในโซเวียตตะวันตก และยังพูดว่า "การยึด[[มอสโก]] มีความสำคัญมากกว่าปัญหาอื่นๆ" และยังพูดอีกว่า "มันไม่ใช่ปัญหาใหม่เลยแต่ความเป็นจริงมันบอกว่ามันมีโอกาสตั้งแต่เราเริ่ม([[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา]]) แล้ว" นอกจากนี้ยังมีการโต้แย้งว่าตอนนี้อยู่ในสภาวะขั้นวิกฤตเพราะโอกาสในการโอบล้อมทหารโซเวียตในจุดยุทธศาสตร์แทบเรียกว่า"เป็นเพียงแค่ความไม่คาดฝันเท่านั้น และมันเป็นการบรรเทาจากถูกทหารโซเวียตถ่วงเวลาในภาคใต้เท่านั้น"{{sfn|Glantz|2011|p=58}} [[ฮิตเลอร์]]ประกาศว่า "คัดค้านในการที่เสียเวลาไปทำลายทหารโซเวียตทาง[[ยูเครน]] จนทำให้การรุกสู่[[มอสโก]]ล่าช้าหรือการที่ยานเกราะขาดการสนับสนุนตามเทคนิคสามารถส่งไปได้แต่ไม่สมบูรณ์" [[ฮิตเลอร์]] ย้ำว่าครั้งหนึ่งปีกของกองทัพกลุ่มกลางทำลายจุดยุทธศาสตร์สำคัญโดยเฉพาะทางภาคใต้และได้รับอนุญาติให้กลับไปนำการรุกสู่มอสโกและการรุกครั้งนี้สรุปโดยความว่า"ต้องไม่พลาด"{{sfn|Glantz|2011|p=59}} ในความเป็นจริงฮิตเลอร์เตรียมออกคำสั่งย้ายกลุ่มแพนเซอร์ของนายพลกูเดเรียนไปทางภาคใต้{{sfn|Guderian|1952|pp=202}} กูเดเรียนกลับไปยังกลุ่มแพนเซอร์ของเขาGuderian returned to his [[:en:2nd Panzer Group|กลุ่มแพนเซอร์ที่สอง]] และเริ่มการรุกสู่ภาคใต้และเริ่มความพยายามในการปิดล้อมจุดยุทธศาสตร์สำคัญของโซเวียต{{sfn|Glantz|2011|p=58}}
 
== อ้างอิง ==