ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kalasee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| ชื่อ = สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย<br> มหาวิทยาลัยมหิดล
| ชื่ออังกฤษ = Reserch Institute for Languages and Cultures of Asia
| ภาพ = [[ไฟล์:logo Mahidol.png| 150px]]
| วันที่ก่อตั้ง = พ.ศ. 2524
| ผู้ก่อตั้ง = ศาสตราจารย์คุณหญิงสุริยา รัตนกุล
| ผู้อำนวยการ = รองศาสตราจารย์โสภนา ศรีจำปา
| สีประจำคณะ = {{color box|#8DC63F}} [[สีเขียวตองอ่อน]]
| วารสาร = ภาษาและวัฒนธรรม
| ที่อยู่ = 999 หมู่ที่ 5 [[ตำบลศาลายา]] [[อำเภอพุทธมณฑล]] [[จังหวัดนครปฐม]] 73170
| เว็บไซต์ = [http://www.lc.mahidol.ac.th/2015/th/ www.lc.mahidol.ac.th]
}}
 
'''สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล''' เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งใน[[มหาวิทยาลัยมหิดล]] ปัจจุบันจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิต รวมจำนวน 4 หลักสูตร และจัดการวิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงและพัฒนาด้านภาษา วัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์
 
== ประวัติ ==
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] เริ่มดำเนินงานในปี พ.ศ 2517 มีฐานะเป็น “โครงการศูนย์ศึกษาวิจัยภาษาและวัฒนธรรมอาเชียอาคเนย์” ทั้งนี้เนื่องมาจากการที่มหาวิทยาลัยมหิดลได้เล็งเห็นความจำเป็นของการผลิตนักวิชาการที่มีความรู้และความเข้าใจวิธีการทางภาษาศาสตร์ ในอันที่จะนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการติดต่อสื่อสาร การทำความเข้าใจกับผู้คนที่มีเชื้อสาย เผ่าพันธุ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีและการพูดแตกต่างจากคนไทยโดยทั่วไป ไม่ว่าภาษาเหล่านี้จะเป็นภาษากลุ่ม ชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในประเทศ หรือภาษาของผู้คนในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
 
โครงการศูนย์ศึกษาวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย์แห่งนี้มีศาสตราจารย์ดร.คุณหญิง[[สุริยา รัตนกุล]] เป็นผู้ก่อตั้งและเป็น ผู้อำนวยการคนแรก มีที่ทำการอยู่ที่อาคารอำนวยการ[[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล]] ต่อมาในปี พ.ศ. 2524 ได้รับการยกฐานะเป็น "สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท" โดยมีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งใน[[มหาวิทยาลัยมหิดล]] และในปี พ.ศ. 2525 ได้ย้ายที่ทำการมาอยู่ที่[[มหาวิทยาลัยมหิดล]] ณ ตำบล [[ศาลายา]] [[อำเภอพุทธมณฑล]] จังหวัด[[นครปฐม]] โดยในระยะแรกมีที่ทำการสถาบันฯ ณ อาคารคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ต่อมา ได้ย้ายที่ทำการไปอยู่ ณ อาคารเรียนรวมบัณฑิตวิทยาลัย จนเมื่อการก่อสร้างอาคารของสถาบันฯ แล้วเสร็จในปลายปี พ.ศ. 2542 จึง ได้ย้ายที่ทำการมาอยู่ ณ อาคารภาษาและวัฒนธรรมสยามบรมราชกุมารี ตำบล[[ศาลายา]] [[อำเภอพุทธมณฑล]] [[จังหวัดนครปฐม]] ซึ่งนอกจาก อาคารดังกล่าวแล้วสถาบันฯ ยังมีอาคาร[[เรือนไทย]] (ระเบียบ คุณะเกษม)ซึ่งใช้เป็นสถานที่สำหรับจัดกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และกิจกรรมอื่น ๆ ตลอดมา
 
นับแต่สถาบันฯ ได้รับการสถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2524 สถาบันฯ มีผู้อำนวยการ ดังนี้
 
== ทำเนียบคณบดี ==
พ.ศ. 2524–2531 รองศาสตราจารย์ ดร.คุณหญิง[[สุริยา รัตนกุล]]
 
{| class="wikitable" width=100%
พ.ศ. 2531–2536 รองศาสตราจารย์ นายแพทย์[[พูนพิศ อมาตยกุล]]
|-
! colspan = "3" style="background: #006B8C" align="center" | <span style="color:White"> สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
|-
! style="background: Lightskyblue; color:white;"| รายนามคณบดี
! style="background: Lightskyblue; color:white;"| วาระการดำรงตำแหน่ง
|-
พ.ศ.| 2524–2531align = "left"| 1. รองศาสตราจารย์ ดร.คุณหญิง[[สุริยา รัตนกุล]]
| [[พ.ศ. 2524]] - [[พ.ศ. 2531]]
|-
พ.ศ.| 2531–2536align = "left"| 2. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์[[พูนพิศ อมาตยกุล]]
| [[พ.ศ. 2531]] - [[พ.ศ. 2536]]
|-
พ.ศ.| 2536–2544align = "left"| 3. ศาสตราจารย์ ดร.คุณหญิง[[สุริยา รัตนกุล]]
| [[พ.ศ. 2536]] - [[พ.ศ. 2544]]
|-
พ.ศ.| 2544–2548align = "left"| 4. ศาสตราจารย์ ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน์
| [[พ.ศ. 2544]] - [[พ.ศ. 2548]]
|-
พ.ศ.| 2548–ปัจจุบันalign = "left"| 5. รองศาสตราจารย์ ดร.โสภนา ศรีจำปา
| [[พ.ศ. 2548]] - [[พ.ศ. 2552]]
|-
| align = "left"| 6. ศาสตราจารย์นายแพทย์ประสิทธิ์ วัฒนาภา
| [[พ.ศ. 2552]] - [[พ.ศ. 2553]]
|-
| align = "left"| 7. รองศาสตราจารย์ดวงพร คำนูณวัฒน์
| [[พ.ศ. 2553]] - [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2555]]
|-
| align = "left"| 8. รองศาสตราจารย์ ดร.โสภนา ศรีจำปา
| [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2555]] - [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2559]]
|-
| align = "left"| 9. รองศาสตราจารย์ ดร.ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์
| [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2559]] - ปัจจุบัน
|-
|}
 
พ.ศ. 2536–2544 ศาสตราจารย์ ดร.คุณหญิง[[สุริยา รัตนกุล]]
 
พ.ศ. 2544–2548 ศาสตราจารย์ ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน์
 
พ.ศ. 2548–ปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ดร.โสภนา ศรีจำปา
 
==ปรัชญา==
เส้น 43 ⟶ 72:
* หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์
* หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา
* หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมและการพัฒนาศึกษา
 
==การวิจัยและพัฒนาภาษา วัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์==
เส้น 62 ⟶ 91:
==เกี่ยวกับสถาบันฯ==
* ปี 2549 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (สกอ.) ได้จัดอันดับให้เป็นหน่วยงานที่มีศักยภาพด้านการเรียนการสอนเป็นอันดับ 4 และด้านการวิจัยในอันดับที่ 10 ในกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[พันแสงรุ้ง]] สารคดีโทรทัศน์ที่ผลิตโดยศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล บริษัทป่าใหญ่ครีเอชั่นจำกัด และ ทีวีไทย