ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PP2014 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Gunhotnews (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 263:
{{บทความหลัก2|พฤษภาทมิฬ}}
[[ไฟล์:200535.jpg|thumb|200px|left|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ พล.อ.สุจินดา และ พล.ต.จำลอง เข้าเฝ้า]]
ในวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ นายทหารคณะหนึ่งประกาศตัวเป็น [[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]] (รสช.) เข้ายึดอำนาจการปกครองโดยอ้างเหตุผลเรื่องฉ้อราษฎร์บังหลวงของรัฐบาลที่กำลังอื้อฉาว
ในวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ นายทหารคณะหนึ่งประกาศตัวเป็น [[คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]] (รสช.) เข้ายึดอำนาจการปกครองโดยอ้างเหตุผลเรื่องฉ้อราษฎร์บังหลวงของรัฐบาลที่กำลังอื้อฉาว รสช.ได้ตั้งรัฐบาลชั่วคราวขึ้นโดยมี นาย[[อานันท์ ปันยารชุน]] เป็นนายกรัฐมนตรี พร้อมกับจัดตั้งสภานิติบัญญัติแห่งชาติขึ้น และร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งก่อนที่จะประกาศใช้ได้ในวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๓๕ ก็มีผู้เคลื่อนไหวไม่เห็นด้วยว่าเป็นรัฐธรรมนูญผูกขาดอำนาจของ รสช. [[พล.อ.สุจินดา คราประยูร]] ผบ.ทบ. หนึ่งในคณะ รสช. จึงยืนยันต่อผู้สื่อข่าวที่หอประชุมกองทัพบกว่า ทั้ง พล.อ.สุจินดา และ [[พล.อ.อ.เกษตร โรจนนิล]] ผบ.ทอ. จะไม่เป็นนายกฯสืบอำนาจ รสช. หลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ รัฐบาลได้จัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ไม่มีพรรคไหนได้เสียงเกินครึ่งสภา พรรคสามัคคีธรรมที่มี รสช.หนุนอยู่จึงเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล และมีมติจะให้นายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรค เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ยังไม่ทันจะทูลเกล้าฯ ก็มีมือดีปล่อยข่าวว่า นายณรงค์เป็นผู้หนึ่งที่ “ต้องห้าม”เข้าอเมริกา เพราะมีความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด ในที่สุด พล.อ.สุจินดาก็หลั่งน้ำตายอม “เสียสัตย์เพื่อชาติ” เป็นนายกรัฐมนตรีเสียเอง โดยมี ๕ พรรคการเมืองสนับสนุน ซึ่ง ๓ พรรคหลังก็ถูกยึดอำนาจร่วมกับ [[พล.อ.ชาติชาย ชุณหวัณ]] ทั้งยังมีรัฐมนตรีที่ถูกยึดทรัพย์ถึง ๓ คนร่วมคณะ กระแสความไม่พอใจในหมู่ประชาชนที่มีความตื่นตัวทางการเมืองสูงได้โหมแรงขึ้น เรียกร้องให้ พล.อ.สุจินดาลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พรรคฝ่ายค้านมีมติแต่งดำไว้ทุกข์ จัดปราศรัยเพื่อคัดค้านนายกฯ มีประชาชนออกมาชุมนุมกันที่สนามหลวงกว่า ๕ แสนคน มีการติดต่อประสานงานกันด้วยโทรศัพท์เคลื่อนที่จนถูกเรียกกันว่า “ม็อบมือถือ” โดยมี [[พล.ต.จำลอง ศรีเมือง]] ผู้ที่มีคะแนนนิยมสูงในขณะนั้นเป็นผู้นำ ในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ผู้ชุมนุมได้เคลื่อนขบวนจากสนามหลวงไปตามถนนราชดำเนิน แต่ถูกรัฐบาลวางกำลังสกัดไว้ที่สะพานผ่านฟ้า เริ่มมีการปะทะ รัฐบาลได้ประกาศภาวะฉุกเฉินในวันที่ ๑๘ พฤษภาคม และสั่งปราบปรามการชุมนุมอย่างรุนแรงด้วยแผนไพรีพินาศ ผู้คนในถนนราชดำเนินบาดเจ็บล้มตายกันไปหลายคน และผู้ที่หลบภัยเข้าไปในโรงแรมรัตนโกสินทร์ถูกลากตัวออกมาทุกห้อง สื่อมวลชนต่างประเทศได้แพร่ภาพการปราบปรามประชาชนนี้ออกไปทั่วโลก สร้างความสลดหดหู่ใจแก่ผู้พบเห็นความโหดร้าย และเรียกเหตุการณ์นี้ว่า“พฤษภาทมิฬ” เหตุการณ์รุนแรงยิ่งขึ้นเมื่อ พล.ต.จำลองถูกชิงตัวไปจากที่ชุมนุมนำไปขังไว้ที่โรงเรียนพลตำรวจ บางเขน แต่ก่อนที่เหตุการณ์จะบานปลายออกไปอีก ในเวลา ๕ ทุ่มครึ่งของวันที่ ๒๐ พฤษภาคม โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจและสถานีวิทยุทุกแห่งได้ถ่ายทอดข่าวสำคัญที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ พล.อ.สุจินดาและ พล.ต.จำลองเข้าเฝ้าที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ทรงเริ่มพระราชดำรัสด้วยพระสุรเสียงเรียบๆ แต่หนักแน่นว่า
 
รสช.ได้ตั้งรัฐบาลชั่วคราวขึ้นโดยมี นาย[[อานันท์ ปันยารชุน]] เป็นนายกรัฐมนตรี พร้อมกับจัดตั้งสภานิติบัญญัติแห่งชาติขึ้น และร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งก่อนที่จะประกาศใช้ได้ในวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๓๕ ก็มีผู้เคลื่อนไหวไม่เห็นด้วยว่าเป็นรัฐธรรมนูญผูกขาดอำนาจของ รสช. [[พล.อ.สุจินดา คราประยูร]] ผบ.ทบ. หนึ่งในคณะ รสช. จึงยืนยันต่อผู้สื่อข่าวที่หอประชุมกองทัพบกว่า ทั้ง พล.อ.สุจินดา และ [[พล.อ.อ.เกษตร โรจนนิล]] ผบ.ทอ. จะไม่เป็นนายกฯสืบอำนาจ รสช.
 
หลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ รัฐบาลได้จัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ไม่มีพรรคไหนได้เสียงเกินครึ่งสภา พรรคสามัคคีธรรมที่มี รสช.หนุนอยู่จึงเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล และมีมติจะให้นายณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรค เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ยังไม่ทันจะทูลเกล้าฯ ก็มีมือดีปล่อยข่าวว่า นายณรงค์เป็นผู้หนึ่งที่ “ต้องห้าม”เข้าอเมริกา เพราะมีความใกล้ชิดกับนักค้ายาเสพติด
 
ในที่สุด พล.อ.สุจินดาก็หลั่งน้ำตายอม “เสียสัตย์เพื่อชาติ” เป็นนายกรัฐมนตรีเสียเอง โดยมี ๕ พรรคการเมืองสนับสนุน ซึ่ง ๓ พรรคหลังก็ถูกยึดอำนาจร่วมกับ [[พล.อ.ชาติชาย ชุณหวัณ]] ทั้งยังมีรัฐมนตรีที่ถูกยึดทรัพย์ถึง ๓ คนร่วมคณะ
 
กระแสความไม่พอใจในหมู่ประชาชนที่มีความตื่นตัวทางการเมืองสูงได้โหมแรงขึ้น เรียกร้องให้ พล.อ.สุจินดาลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พรรคฝ่ายค้านมีมติแต่งดำไว้ทุกข์ จัดปราศรัยเพื่อคัดค้านนายกฯ มีประชาชนออกมาชุมนุมกันที่สนามหลวงกว่า ๕ แสนคน มีการติดต่อประสานงานกันด้วยโทรศัพท์เคลื่อนที่จนถูกเรียกกันว่า “ม็อบมือถือ” โดยมี [[พล.ต.จำลอง ศรีเมือง]] ผู้ที่มีคะแนนนิยมสูงในขณะนั้นเป็นผู้นำ
 
ในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ผู้ชุมนุมได้เคลื่อนขบวนจากสนามหลวงไปตามถนนราชดำเนิน แต่ถูกรัฐบาลวางกำลังสกัดไว้ที่สะพานผ่านฟ้า เริ่มมีการปะทะ รัฐบาลได้ประกาศภาวะฉุกเฉินในวันที่ ๑๘ พฤษภาคม และสั่งปราบปรามการชุมนุมอย่างรุนแรงด้วยแผนไพรีพินาศ ผู้คนในถนนราชดำเนินบาดเจ็บล้มตายกันไปหลายคน และผู้ที่หลบภัยเข้าไปในโรงแรมรัตนโกสินทร์ถูกลากตัวออกมาทุกห้อง สื่อมวลชนต่างประเทศได้แพร่ภาพการปราบปรามประชาชนนี้ออกไปทั่วโลก สร้างความสลดหดหู่ใจแก่ผู้พบเห็นความโหดร้าย และเรียกเหตุการณ์นี้ว่า“พฤษภาทมิฬ” เหตุการณ์รุนแรงยิ่งขึ้นเมื่อ พล.ต.จำลองถูกชิงตัวไปจากที่ชุมนุมนำไปขังไว้ที่โรงเรียนพลตำรวจ บางเขน
 
แต่ก่อนที่เหตุการณ์จะบานปลายออกไปอีก ในเวลา ๕ ทุ่มครึ่งของวันที่ ๒๐ พฤษภาคม โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจและสถานีวิทยุทุกแห่งได้ถ่ายทอดข่าวสำคัญที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้ พล.อ.สุจินดาและ พล.ต.จำลองเข้าเฝ้าที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ทรงเริ่มพระราชดำรัสด้วยพระสุรเสียงเรียบๆ แต่หนักแน่นว่า
 
“คงไม่เป็นที่แปลกใจ ทำไมจึงเชิญให้ท่านมาพบกันอย่างนี้”
 
“คงไม่เป็นที่แปลกใจ ทำไมจึงเชิญให้ท่านมาพบกันอย่างนี้”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระบรมราชาธิบายแก่บุคคลทั้งสองว่า แม้จะเป็นที่กระจ่างชัดตั้งแต่แรกว่า เหตุผลที่ทั้งสองฝ่ายเผชิญหน้ากันคืออะไร แต่
 
“ก็มีความเสียหายในทางจิตใจ และในทางเศรษฐกิจของประเทศชาติอย่างที่จะนับคณนาไม่ได้” และ “ซึ่งเดี๋ยวนี้ประชาชนทั่วไปทุกหนทุกแห่ง มีความหวาดระแวงว่าจะเกิดอันตราย มีความหวาดระแวงว่าประเทศชาติจะล่มจม โดยที่จะแก้ไขลำบาก”
 
ทรงถามผู้นำทั้งสองฝ่ายด้วยคำถามที่คนทั้งชาติเห็นด้วยเป็นอย่างยิ่ง ว่า