ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘วิศกรรม’ ด้วย ‘วิศวกรรม’
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
| วารสารคณะ = วารสารราชมงคลรัตนโกสินทร์
| ที่อยู่ = มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล [[ถนนเพชรเกษม]] [[ตำบลหนองแก]] [[อำเภอหัวหิน]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] 77110 |
| เว็บ = [http://www.kkwidt.rmutr.ac.th]/ [http://www.idt.rmutr.ac.th/aboutidt.php]
}}
'''คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ''' [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์]] เป็นส่วนราชการระดับคณะในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/A/037/4.PDF กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๖]</ref> เปิดทำการเรียนการสอนในด้านอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน และสารสนเทศ
 
== ประวัติ ==
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี จัดตั้งขึ้นเพื่อพัฒนาระบบการศึกษาที่จะกระจ่ายและเปิดโอกาสทางการศึกษาทางวิชาชีพในระดับสากล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีเป็นจัดการศึกษา ระดับปริญญา เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนกำลังคนในตลาดแรงงาน ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นแหล่งการศึกษาในท้องถิ่น เพื่อยกระดับการศึกษาให้สูงขึ้นที่สอดคล้องกับการพัฒนาการศึกษาในระดับชาติ
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ก่อตั้งขึ้นตามโครงสร้าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ พุทธศักราช 2548
 
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี คำนึงถึงนโยบายพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่จัดการศึกษายึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ โดยรัฐเป็นผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ โดยรัฐเป็นผู้ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบและเป็นไปอย่างต่อเนื่อง การจัดตั้งคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อสนองนโยบายในการเรียนรู้โดยนำแนวทางของแผนทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศมาเป็นแนวทางหลักเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนสายช่างอุตสาหกรรมโดยการขยายฐานการศึกษาในคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีให้มีหลายสาขาวิชาชีพ เพื่อเป็นการกระจ่ายโอกาสทางการศึกษาที่ควบคู่ไปกับการขยายสาขาอาชีพ อีกทั้งเป็นการสนับสนุนทางวิชาการที่จะพัฒนากำลังคนให้มีความรู้ในระดับสูงขึ้นไปให้สอดคล้องกับนโยบายหรือแนวทางการพัฒนาประเทศโดยส่วนรวม ซึ่งคณะฯ จะเป็นผู้นำทางวิชาการ การพัฒนาองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ เพื่อจัดการศึกษาให้ตอบสนองความต้องการของชาติ
 
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีจึงมีแนวคิดที่จำดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมายการดำเนินงานในส่วนภูมิภาค เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาและสร้างการศึกษาด้านสายช่างอุตสาหกรรมให้มีความมั่นคงในด้านการศึกษาภาคใต้ตอนบน อีกทั้งเป็นการผสมผสานเทคโนโลยีสายสาขาวิชาชีพให้มีความสอดคล้องกับคณะฯ โดยมุ่งความเป็นเลิศทางวิชาการและปฏิบัติการไปสู่ศูนย์กลางความรู้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนเน้นความร่วมมือกับผู้ประกอบการให้มามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน เพื่อสร้างสายงานวิชาการและสายปฏิบัติการที่เข้มแข็งเป็นที่ยอมรับต่อประเทศ
 
ดังนั้นรูปแบบโครงสร้างทางวิชาการของคณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีจึงเป็นองค์ความรู้ที่รวมในหลายสาขาวิชาที่มุ่งให้ความรู้สนองความต้องการของสถานประกอบการ รวมทั้งสนับสนุนงานด้านวิชาการในการบริการและเอื้อประโยชน์ให้กับบุคลากรภายนอกที่ต้องการบัณฑิตนักปฏิบัติการที่สามารถปฏิบัติการทำงานได้อย่างเต็มความสามารถ ซึ่งตรงกับความต้องการของอุตสาหกรรมภายในประเทศ
== ปรัชญา/ปณิธาน/วิสัยทัศน์ ==
ปรัชญา (Philosophy)
“เป็นเลิศทางวิชาการ เชี่ยวชาญเทคโนโลยี สร้างคนดีสู่สังคม”
ปณิธาน (Determination)
บัณฑิตต้องมีความรู้คู่ความดีที่สามารถก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการที่มีคุณภาพ
วิสัยทัศน์ (Vision)
“เป็นผู้นำทางวิชาการแห่งสังคมการประกอบการ”
ค่านิยมหลัก (Core Values)
ทุ่มเทเพื่องาน ประสานความร่วมมือ ยึดถือธรรมาภิบาล
วัฒนธรรมองค์กร (Corporate Culture)
”มีหัวใจเป็นนักบริการ ทำงานร่วมกันเป็นทีม เน้นความภักดีต่อองค์กรณ์ ”
จุดมุ่งหมายหลัก (Core Purpose)
เป็นแหล่งสร้างองค์ความรู้ สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ ที่มีความเป็นสากล
เป้าหมายสูงสุด (Visionary Goal)
เป็นคณะชั้นนำของวิชาการในระดับประเทศ
 
พันธกิจ (Mission)
 
1.ผลิตบัณฑิตให้มีศักยภาพเพื่อการเป็นผู้ประกอบการที่มีองค์ความรู้คู่คุณธรรม
2.เสริมสร้างให้เกิดงานวิจัยพื้นฐานและวิจัยประยุกต์อย่างเป็นระบบ
เพื่อผลิตงานวิจัยที่มีคุณภาพตอบสนองความต้องการของสังคมและสู่สากล
3.บริการวิชาการแก่สังคมโดยนำความรู้ผสานภูมิปัญญาและสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสังคม
4.ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมและให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
5.บริหารจัดการเพื่อพัฒนาองค์กรสู่องค์กรคุณภาพ
6.พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ
7.เพิ่มขีดความสามารถเชิงการแข่งขันในระดับสากล
ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issue)
 
1.พัฒนาบัณฑิตด้านวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้เป็นผู้ประกอบการที่มีองค์ความรู้คู่คุณธรรม
2.ส่งเสริมให้เกิดงานวิจัยพื้นฐานและวิจัยประยุกต์อย่างเป็นระบบ เพื่อผลิตงานวิจัยที่มีคุณภาพตอบสนองความต้องการของสังคมสู่สากล
3.สร้างความเข็มแข็งให้ชุมชนและสังคมโดยการให้บริการทางวิชาการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง พร้อมทั้งเผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4.ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ค่านิยมไทยและรักษาสิ่งแวดล้อมร่วมกับพันธกิจอื่นๆ
5.การพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
6.พัฒนาทรัพย์กรบุคคลให้มีสมรรณะสูงในการขับเคลื่อนพัฒนาคณะฯ สู่ความเป็นเลิศ
7.สามารถแข่งขันและจัดอันดับได้ในเกณฑ์หหนึ่งของระดับชาติ
 
เป้าประสงค์ (Purposes)
 
1.บัณฑิตคณะฯ เป็นผู้มีความรู้ สมรรถนะและคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ตอบสนองความต้องการ
สถานประกอบการ
2.สร้างผลงานวิจัยทั้งในระดับชาติและระดับสากลที่สามารถชี้นำการพัฒนาและการแก้ปัญหาของ
สังคมไทยอย่างบูรณาการ สมดุลและยั่งยืน
3.ชุมชนมีความเช้มแข็งด้วยภูมิปัญญา สามารถพัฒนาและสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ทำให้คุณภาพ
ชีวิคของชุมชนดีขึ้น
4.มีการบูรณาการด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ค่านิยมไทยและรักษาสิ่งแวดล้อมร่วมกับพันธกิจอื่น
5.มีระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพและมีธรรมาภิบาลของผู้บริหารทุกระดับ
6.บุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนมีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ รวมทั้งมีศักยภาพเชิงบริหาร
7.เป็นที่ยอมรับในคุณภาพของการจัดการศึกษาในเวทีระดับภูมิภาคและระดับชาติ
== หลักสูตร ==
คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีรับผิดชอบการเรียนการสอน ในสาขาวิชาต่าง ๆ ดังนี้