ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 67:
== เหตุการณ์ช่วงสวรรคต ==
[[ไฟล์:สองรัชกาลเสด็จมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.jpg|thumb|พระราชกรณียกิจครั้งสุดท้ายของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ณ ทุ่งบางเขน 5 มิถุนายน พ.ศ. 2489]]
 
=== 9 มิถุนายน 2489 (วันเกิดเหตุ) ===
[[ไฟล์:Boromphiman Palace.jpg|250px|thumb|[[พระที่นั่งบรมพิมาน]] [[พระบรมมหาราชวัง]] (สถานที่เกิดเหตุ)]]
เส้น 116 ⟶ 115:
=== 18 มิถุนายน 2489 ===
เนื่องจากมีความพยายามในการนำประเด็นสวรรคตมาเป็นเครื่องมือทางการเมือง นำโดยพรรคประชาธิปัตย์และกลุ่มนิยมเจ้า โดยกล่าวหาว่านายปรีดีเป็นผู้บงการให้ลอบปลงพระชนม์รัชกาลที่๘ เพื่อพิสูจน์ความบริสุทธิ์ใจ นายปรีดีจึงสั่งไปตั้งคณะกรรมการสอบสวนขึ้น ซึ่งถูกเรียกสั้นๆว่า ศาลกลางเมือง เพื่อทำการสืบสวนกรณีสวรรคต<ref>ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกรณีสวรรคต(ฉบับสมบูรณ์) หน้า 43-46 โดยสุพจน์ ด่านตระกูล</ref>
 
== สถานที่เกิดเหตุ ==
เหตุเกิดที่ ชั้น2ของพระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมหาราชวัง
บรรทัด 161:
* หนังสือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกรณีสวรรคต ฉบับสมบูรณ์ หน้า 60 โดยสุพจน์ ด่านตระกูล อ้างอิง คำให้การนายแพทย์นิตย์ฯ ต่อศาลสถิตยุติธรรม เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2492
* หนังสือ เมื่อข้าพเจ้าเข้าไปเกี่ยวข้องกับกรณีสวรรคต หน้า 125 โดย นพ.สุด แสงวิเชียร</ref>
 
=== สภาพพระบรมศพเริ่มแรก ===
[[ไฟล์:Rama8012.jpg|300px|thumb|left|ภาพจำลองลักษณะท่าทางพระบรมศพ]]
เส้น 169 ⟶ 170:
 
'''สภาพพระบรมศพ''' ทรงบรรทมหงายพิงพระเขนย(หมอน)คล้ายคนนอนหลับอย่างปกติ มีผ้าคลุมตั้งแต่พระอุระ(อก)ตลอดจนถึงข้อพระบาท(ข้อเท้า) มีพระโลหิต(เลือด)ไหลโทรมพระพักตร์(หน้า)ลงมาที่พระเขยนและผ้าลาดพระยี่ภู่ พระเศียร(หัว)ตะแคงไปทางด้านขวาเล็กน้อย บริเวณกึ่งกลางพระนลาฏ(หน้าผาก) ตรงตรงเหนือพระขนง(คิ้ว)ซ้าย มีแผลกระสุนปืน หนังฉีกเป็นแฉกคล้ายเครื่องหมายคูณกว้างยาวประมาณ4ซม. พระเนตร(ตา)ทั้งสองหลับสนิท ไม่ได้ฉลองพระเนตร(แว่นตา) พระเกศา(ผม)แสกเรียบอยู่ในรูปที่เคยทรง พระโอษฐ์(ปาก)ปิด พระกร(แขน)ทั้งสองเหยียดทอดทับนอกผ้าคลุมพระองค์แนบพระวรกายตามปกติ พระหัตถ์ทั้งสองแบอยู่ในท่าธรรมดา พระบาททั้งสองเหยียดทอดชิดกันอยู่ห่างจากปลายพนักพระแท่นประมาณ 7ซม. มีปืนของกลางขนาดลำกล้อง 11มม. วางอยู่ข้างพระกรซ้าย ลำกล้องขนานและห่างพระกร 1นิ้ว ปากกระบอกหันไปทางพระบาท ศูนย์ท้ายของปืนอยู่ตรงระดับข้อพระกร(ข้อศอก)
 
=== ลักษณะบาดแผล และวิถีกระสุน<ref>อ้างอิงจาก
* ศ.นพ.สุด แสงวิเชียร เมื่อข้าพเจ้าเข้าไปเกี่ยวข้องกับกรณีสวรรคต หน้า 9-10
เส้น 188 ⟶ 190:
ไฟล์:_Rama8010.jpg|ภาพจำลองจากหนังสือพิมพ์
</gallery>
 
=== ผลการชันสูตรพระบรมศพ ===
การชันสูตรพระบรมศพเริ่มในวันที่ 26 มิถุนายน 2489
เส้น 211 ⟶ 214:
*แถลงการณ์กรมตำรวจเรื่องรายงานของแพทย์เกี่ยวกับพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ตีพิมพ์ใน สรรใจและวิมลพรรณ, กรณีสวรรคต ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙, หน้า ๔๔-๔๙ และ บันทึกการสอบสวนกรณีสวรรคตรัชกาลที่ ๘, หน้า ๕๗-๖๕</ref> นอกจากนี้แพทย์บางคนที่ไม่เจาะจงตัดอุบัติเหตุทิ้ง ยังให้เหตุผลว่าแม้จะมีความเป็นไปได้ แต่ก็น้อยมากไม่ถึง 1ในล้าน เช่นนพ.หลวงพิณพากย์พิทยาเพท และนพ.ใช้ ยูนิพันธ์<ref>หน้า 208 และ 226 หนังสือ บันทึกการสอบสวรกรณีสวรรคตรัชกาลที่ ๘ โดยคณะกรรมการดำเนินงานฉลอง100ปีชาตกาลปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษยอาวุโส </ref>
โดยการนับของแพทย์ นับจากใครเห็นว่าเหตุใดมีน้ำหนักมากสุด ให้นับอย่างนั้นเป็น1 อย่างอื่นไม่นับ<ref>หนังสือ บันทึกการสอบสวรกรณีสวรรคตรัชกาลที่ ๘ โดยคณะกรรมการดำเนินงานฉลอง100ปีชาตกาลปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษยอาวุโส หน้า 184 อ้างอิงคำให้การ นพ.ม.ล.เกษตร สนิทวงศ์</ref>
 
== การวินิจฉัยของศาล ==
ภายหลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 รัฐบาลใหม่ได้ทำการสืบสวนต่อ โดยพุ่งเป้าไปที่เป็นการลอบปลงพระชนม์ โดยมีนายชิต นายบุศย์ นายเฉเลียว นายปรีดี และเรือเอกวัชรชัย เป็นจำเลย จากนั้นอัยการโจทย์ได้นำสืบ คดีขึ้นสู่ศาล ทั้ง3ศาลวินิจฉัยความเป็นไปได้ดังนี้
เส้น 221 ⟶ 225:
* ตั้งใจ (ลอบปลงพระชนม์)
* ไม่ตั้งใจ (อุบัตุเหตุ)
 
=== ศาลชั้นต้น ===
:# ''กรณีที่ 1'' การกระทำโดยพระองค์เอง โดยตั้งใจ(ฆ่าตัวตาย) ศาลเห็นว่าเป็นไปไม่ได้<ref>หน้า 231-232 หนังสือคดีประวัติศาสตร์ลอบปลงพระชนม์ร.๘ ฉบับสมบูรณ์ โดยบุญร่วม เทียมจันทร์ อ้างอิงคำพิพากษาศาลอาญา 27 กันยายน 2494</ref>
เส้น 226 ⟶ 231:
:# ''กรณีที่ 3'' การกระทำโดยผู้อื่น โดยตั้งใจ(ลอบปลงพระชนม์) '''ศาลมั่นใจว่าเป็นการลอบปลงพระชนม์'''<ref>หน้า 229-230 หนังสือคดีประวัติศาสตร์ลอบปลงพระชนม์ร.๘ ฉบับสมบูรณ์ โดยบุญร่วม เทียมจันทร์ อ้างอิงคำพิพากษาศาลอาญา 27 กันยายน 2494</ref>
:# ''กรณีที่ 4'' การกระทำโดยผู้อื่น โดยไม่ตั้งใจ(อุบัติเหตุ เช่นปืนลั่น) ศาลเห็นว่าเป็นไปไม่ได้<ref>หน้า 232 หนังสือคดีประวัติศาสตร์ลอบปลงพระชนม์ร.๘ ฉบับสมบูรณ์ โดยบุญร่วม เทียมจันทร์ อ้างอิงคำพิพากษาศาลอาญา 27 กันยายน 2494</ref>
 
=== ศาลชั้นอุทธรณ์ ===
:# ''กรณีที่ 1'' การกระทำโดยพระองค์เอง โดยตั้งใจ(ฆ่าตัวตาย) ศาลเห็นว่าเป็นไปไม่ได้<ref>หน้า 408 และ 543-544 หนังสือคดีประวัติศาสตร์ลอบปลงพระชนม์ร.๘ ฉบับสมบูรณ์ โดยบุญร่วม เทียมจันทร์ อ้างอิงคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ 28 ตุลาคม 2496</ref>
เส้น 231 ⟶ 237:
:# ''กรณีที่ 3'' การกระทำโดยผู้อื่น โดยตั้งใจ(ลอบปลงพระชนม์) '''ศาลเห็นว่าป็นการลอบปลงพระชนม์'''<ref>หน้า 475-476 และ 487 และ 523 หนังสือคดีประวัติศาสตร์ลอบปลงพระชนม์ร.๘ ฉบับสมบูรณ์ โดยบุญร่วม เทียมจันทร์ อ้างอิงคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ 28 ตุลาคม 2496</ref>
:# ''กรณีที่ 4'' การกระทำโดยผู้อื่น โดยไม่ตั้งใจ(อุบัติเหตุ เช่นปืนลั่น) '''ศาลเห็นว่าให้ตัดข้อนี้ทิ้งโดยไม่มีทางที่จะโต้แย้งได้'''<ref>หน้า 402 หนังสือคดีประวัติศาสตร์ลอบปลงพระชนม์ร.๘ ฉบับสมบูรณ์ โดยบุญร่วม เทียมจันทร์ อ้างอิงคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ 28 ตุลาคม 2496</ref>
 
=== ศาลชั้นฎีกา ===
:# ''กรณีที่ 1'' การกระทำโดยพระองค์เอง โดยตั้งใจ(ฆ่าตัวตาย) ศาลเห็นว่ามิใช่การกระทำโดยพระองค์เอง<ref>หน้า 620 และ 640 หนังสือคดีประวัติศาสตร์ลอบปลงพระชนม์ร.๘ ฉบับสมบูรณ์ โดยบุญร่วม เทียมจันทร์ อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกา 12 ตุลาคม 2497</ref>
เส้น 238 ⟶ 245:
* ดูหนังสือ "คำพิพากษา ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา คดีประทุษฐ์ร้ายต่อพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่๘" จัดพิมพ์โดย โรงพิมพ์กรุงสยามการพิมพ์ http://www.openbase.in.th/files/pridibook232.pdf
* หนังสือ "คำพิพากษา ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา พร้อมด้วยคำแถลงของอัยการโจทย์ ความอาญาคดีประทุษฐร้ายต่อพระองค์พระมหากษัตริย์รัชกาลที่๘" หนังสือที่ระลึกในงานทำบุญอายุครบ ๕รอบ มลว.บุญรับ พินิจชนคดี 10มกราคม2498</ref>
 
=== ความเห็นแย้งศาลอุทธรณ์ ===
หลวงปริพนธ์พจนพิสุทธิ์ ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ได้ทำความเห็นแย้งไว้ในชั้นศาลอุทธรณ์ว่า คดีนี้ควรพิพากษา'''ยกฟ้องจำเลยทั้งสาม'''<ref>หน้า 568 และ 587 หนังสือคดีประวัติศาสตร์ลอบปลงพระชนม์ร.๘ ฉบับสมบูรณ์ โดยบุญร่วม เทียมจันทร์ อ้างอิงความเห็นแย้งคำพิพากษาศาลอุทธรณ์โดยหลวงปริพนธ์พจน์พิสุทธิ์ ผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ 28 ตุลาคม 2496
เส้น 248 ⟶ 256:
* http://socialitywisdom.blogspot.com.au/2009/02/blog-post_22.html
* http://socialitywisdom.blogspot.com.au/2009/02/blog-post_4787.html</ref>
 
== ผลกระทบ ==
* สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดชสืบราชสมบัติเป็น "สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช"
เส้น 258 ⟶ 267:
* คดีนี้ได้กลายเป็นข้ออ้างสำคัญประการหนึ่งของ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490|รัฐประหาร พ.ศ. 2490]] เนื่องจากรัฐบาลพลเรือตรี [[ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์]] (นายกรัฐมนตรีคนถัดจากปรีดี) ไม่สามารถสะสางกรณีสวรรคตได้ อนึ่ง กรณีสวรรคตยังส่งผลให้กลุ่มการเมืองสายปรีดีต้องพลอยหมดบทบาทจากการเมืองไทยภายหลังรัฐประหารครั้งนี้ด้วย
{{โครงส่วน}}
 
=== การตั้งคณะกรรมการการสอบสวน ===
วันที่ 18 มิถุนายน ปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี มีคำสั่งให้แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นชุดหนึ่ง เพื่อสอบหาข้อเท็จจริงให้ปรากฏ ประกอบด้วยประธานศาลฎีกา อธิบดีศาลอุทธรณ์ อธิบดีศาลอาญา อธิบดีกรมอัยการ ประธานพฤฒสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร เจ้านายชั้นผู้ใหญ่สามพระองค์ ผู้แทนกองทัพบก ผู้แทนกองทัพเรือ ผู้แทนกองทัพอากาศ โดยมีนายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นเลขานุการ และนายสอาด นาวีเจริญ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการชุดนี้เรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า ''คณะกรรมการสอบสวนพฤติกรรมในการที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคต''
 
=== การดำเนินคดี ===
ภายหลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ตำรวจได้ทำการจับกุม [[ชิต_สิงหเสนี|นายชิต]] [[บุศย์ ปัทมศริน|นายบุศย์]] [[เฉลียว ปทุมรส|นายเฉลียว]] และออกหมายจับ [[ปรีดี พนมยงค์|นายปรีดี]] และเรือเอกวัชรชัย
เส้น 292 ⟶ 303:
 
== อ้างอิง ==
<div style="overflow:scroll;height:300px;">
{{รายการอ้างอิง|3}}
</div>
 
== เอกสารอ่านเพิ่ม ==