ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะบาโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Isaac thailand (คุย | ส่วนร่วม)
ลบเนื้อหาไม่เป็นสารานุกรม ทัศนะส่วนตัว
บรรทัด 4:
{{คำพูด|[[จงระลึกถึงวันสะบาโต ถือเป็นวันบริสุทธิ์]]|หนังสืออพยพ 20:8}}
 
== วันสะบาโตในศาสนายูดาห์ ==
{{บทความหลัก|วันสะบาโต (ศาสนายูดาห์)}}
วันสะบาโต ในศาสนายูดาห์ คือ เวลาดวงอาทิตย์ตก(18.00 น.)ของวันศุกร์ ถึง เวลาดวงอาทิตย์ตก(17.59 น.)ของวันเสาร์ ตามระบบ[[ปฏิทินสุริยคติ]] หรือ วันเสาร์ ตามระบบ[[ปฏิทินฮีบรู]]
 
== วันสะบาโตในศาสนาคริสต์ ==
{{บทความหลัก|วันสะบาโต (ศาสนาคริสต์)}}
วันสะบาโต ในศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสเตนต์[[โรมันคาทอลิก]]และนิกาย[[โปรเตสแตนต์]] (ส่วนใหญ่) ตามระบบ[[ปฏิทินสุริยคติ]] คือ[[วันอาทิตย์]] แต่นิกาย[[เซเวนต์เดย์แอดเวนทิสต์]]) ตามระบบ[[ปฏิทินสุริยคติ]] คือ [[วันเสาร์]]
 
ใน[[พระคริสตธรรมคัมภีร์]]มีข้อพระธรรมหลายข้อที่กล่าวถึงคำบัญชาของพระเจ้าให้ถือรักษาวันสะบาโต และมีคำตำหนิอย่างรุนแรงสำหรับคนที่ไม่ถือรักษาวันสะบาโต<ref>หนังสืออพยพ 31:12-17, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref><ref>หนังสือกันดารวิถี 15:32-36, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref><ref>หนังสืออิสยาห์ 58:13-14, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref><ref>หนังสือเยเรมีย์ 17:21-22, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref> และคำสั่งเรื่องการถือรักษาวันสะบาโตก็เป็นพระบัญญัติข้อที่ 4 จาก[[บัญญัติ 10 ประการ]] ที่พระเจ้าทรงประทานผ่านทาง[[โมเสส]]<ref>หนังสืออพยพ 20:8-11, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref> ซึ่งข้อพระคัมภีร์เหล่านี้ได้สร้างความรู้สึกไม่สบายใจต่อ คริสเตียนจำนวนมาก เนื่องจากเกรงว่าตนเองกำลังละเมิดพระบัญชาเรื่องวันสะบาโต อีกทั้ง[[คริสตจักร]]คณะต่าง ๆ ก็มีความเห็นแตกต่างกัน เกี่ยวกับเรื่องวันสะบาโต เราจะมีคำถามหลักอยู่ 2 ประเด็น คือ
วันสะบาโต ในศาสนาคริสต์ [[นิกายโรมันคาทอลิก]] และ [[นิกายโปรเตสแตนต์]] (ส่วนใหญ่) ตามระบบ[[ปฏิทินสุริยคติ]] คือ วันอาทิตย์
 
=== คริสเตียนกับวันสะบาโต ===
ใน[[พระคริสตธรรมคัมภีร์]]มีข้อพระธรรมหลายข้อที่กล่าวถึงคำบัญชาของพระเจ้าให้ถือรักษาวันสะบาโต และมีคำตำหนิอย่างรุนแรงสำหรับคนที่ไม่ถือรักษาวันสะบาโต<ref>หนังสืออพยพ 31:12-17, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref><ref>หนังสือกันดารวิถี 15:32-36, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref><ref>หนังสืออิสยาห์ 58:13-14, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref><ref>หนังสือเยเรมีย์ 17:21-22, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref> และคำสั่งเรื่องการถือรักษาวันสะบาโตก็เป็นพระบัญญัติข้อที่ 4 จาก[[บัญญัติ 10 ประการ]] ที่พระเจ้าทรงประทานผ่านทาง[[โมเสส]]<ref>หนังสืออพยพ 20:8-11, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref> ซึ่งข้อพระคัมภีร์เหล่านี้ได้สร้างความรู้สึกไม่สบายใจต่อ คริสเตียนจำนวนมาก เนื่องจากเกรงว่าตนเองกำลังละเมิดพระบัญชาเรื่องวันสะบาโต อีกทั้ง[[คริสตจักร]]คณะต่าง ๆ ก็มีความเห็นแตกต่างกัน เกี่ยวกับเรื่องวันสะบาโต เราจะมีคำถามหลักอยู่ 2 ประเด็น คือ
# วันสะบาโตคือวันเสาร์หรือวันอาทิตย์
# คริสเตียนต้องถือรักษาวันสะบาโตหรือไม่
=== วันสะบาโตคือวันเสาร์หรือวันอาทิตย์ ===
วันสะบาโตเป็นวันเสาร์หรือเป็นวันอาทิต์เป็นประเด็นที่มีการถกเถียงกันของคริสเตียนสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งถือว่าวันสะบาโตเป็นวันเสาร์ กลุ่มนี้เรียกว่าคริสตจักร[[เซเวนต์เดย์แอดเวนทิสต์]] กลุ่มนี้ให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับการถือรักษาวันสะบาโตในวันเสาร์ จะยึดถือปฏิบัติตามกฎระเบียบเรื่องวันสะบาโตตามที่บันทึกในพระคัมภีร์ภาค[[พันธสัญญาเดิม]] นอกจากกฎเรื่องวันสะบาโตแล้วกลุ่มคริสตจักรเซเวนต์เดย์แอดเวนทิสต์ก็ยังรักษากฎอื่น ๆ ในพระคัมภีร์ภาค[[พันธสัญญาเดิม]]ด้วย เช่นกฎเกี่ยวกับอาหาร คริสตจักรเซเวนต์เดย์แอดเวนทิสต์เป็นกลุ่มคริสเตียนที่มีวิถีปฏิบัติที่ใกล้เคียงกับ[[ศาสนายูดาห์]]มากที่สุด แต่ก็มีกฎบางประการที่คริสตจักรเซเวนต์เดย์แอดเวนทิสต์ไม่ได้ยึดถือปฏิบัติ คือ พิธี[[ปัสคา]]และพิธี[[สุหนัต]] ซึ่งพิธีทั้งสองก็เป็นเรื่องสำคัญในระดับเดียวกันกับวันสะบาโต และพระเจ้าก็ทรงบัญชาอย่างหนักแน่นชัดเจนให้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเช่นเดียวกับวันสะบาโต<ref>หนังสือปฐมกาล 17:10-14, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref><ref>หนังสืออพยพ 12:14, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref> คำถามที่ตามมาก็คือกลุ่มคริสตจักรเซเวนต์เดย์แอดเวนทิสต์ใช้หลักเกณฑ์อะไรในการที่จะเลือกปฏิบัติและไม่ปฏิบัติตามพระบัญญัติบางประการ
 
คริสเตียนอีกกลุ่มหนึ่งเชื่อว่าวันสะบาโตคือวันอาทิตย์ กลุ่มคริสเตียนที่ถือว่าวันสะบาโตเป็นวันอาทิตย์ คือ [[นิกายโรมันคาทอลิก]] และ[[นิกายโปรเตสแตนต์]]ส่วนใหญ่ กลุ่มนี้เชื่อว่าเดิมทีวันสะบาโตเป็นวันเสาร์แต่ต่อมาได้ถูกเปลี่ยนมาเป็นวันอาทิตย์ โดยได้ให้เหตุผลในการเปลี่ยนแปลงไว้สองประการคือ หนึ่งเมื่อ[[จักรพรรดิคอนสแตนตินคอนสตันไทน์มหาราช]]ได้เปลี่ยน[[จักรวรรดิโรมัน]]มาเป็นคริสเตียนในช่วงศตวรรษที่ 4 ก็ได้ร่วมกับคริสตจักรประกาศให้เปลี่ยนแปลงวันสะบาโตจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์ คำถามที่ตามมาก็คือ มนุษย์เราเอาอำนาจอะไรมาเปลี่ยนแปลงพระบัญญัติของพระเจ้า เหตุผลประการที่สองคือคริสตจักรในยุค[[อัครทูต]]ก็ได้นมัสการในวันอาทิตย์<ref>จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 16:2, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref><ref>หนังสือกิจการของอัครทูต 20:7, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref> โดยให้เหตุผลว่าสาเหตุที่คริสตจักรนมัสการวันอาทิตย์ก็เพื่อเป็นการรำลึกถึง[[การฟื้นคืนพระชนม์ของ[[พระเยซู]]ในวันอาทิตย์ เป็นความจริงที่มีการนมัสการพระเจ้าในวันอาทิตย์ของคริสตจักรในสมัยแรก แต่นี้ก็ไม่ได้มีเหตุผลเพียงพอที่จะอ้างว่าวันสะบาโตได้เปลี่ยนจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์ เพราะเราพบจากพระคัมภีร์ว่าทุกวันเสาร์อัครทูตก็ยังไปที่ธรรมศาลา อีกทั้งคริสตจักรยุคอัครทูตในเวลาเริ่มต้นมีการนมัสการทุกวัน<ref>หนังสือกิจการของอัครทูต 2:46, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref>
 
วันสะบาโตเป็นวันที่สถาปนาโดย[[พระเป็นเจ้า]]และพระองค์ตรัสว่าเป็นพันธสัญญาตลอดชั่วชาติพันธุ์ ดังนั้นวันสะบาโตจึงตรงกับวันเสาร์ไม่เคยเปลี่ยนแปลง (เริ่มจากดวงอาทิตย์ตก(18.00 น.)ของวันศุกร์ ถึง เวลาดวงอาทิตย์ตก(17.59 น.)ของวันเสาร์ ตามการนับวันเวลาของพระคัมภีร์) วันสะบาโตตั้งขึ้นโดยอำนาจของพระเจ้า ถ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงก็ต้องเปลี่ยนโดยอำนาจของพระเจ้าไม่ใช่อำนาจของคริสตจักรหรือรัฐ และเราไม่เคยพบข้อความใดในพระคัมภีร์ที่แสดงให้เห็นว่าพระเจ้าทรงเปลี่ยนวันสะบาโตจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์
 
=== คริสเตียนต้องถือรักษาวันสะบาโตหรือไม่ ===
ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นคริสเตียนส่วนใหญ่เชื่อว่าตนยังต้องถือรักษาวันสะบาโตอยู่ เพียงแต่บางส่วนยึดถือว่าวันสะบาโตเป็นวันเสาร์และบางส่วนถือว่าวันสะบาโตได้เปลี่ยนจากวันเสาร์มาเป็นวันอาทิตย์ แต่จากนี้ไปจะเป็นเหตุผลและหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าคริสเตียนไม่ได้อยู่ภายใต้พันธสัญญาเรื่องวันสะบาโต คริสเตียนจึงไม่ได้มีหน้าที่ในการถือรักษาวันสะบาโต
 
คำสั่งเรื่องวันสะบาโตเป็นคำสั่งเฉพาะสำหรับ[[วงศ์วานอิสราเอล]]เท่านั้น หากเราพิจารณาดูทุกครั้งที่มีการกล่าวถึงคำสั่งของพระเจ้าเรื่องการถือรักษาวันสะบาโตจะเป็นการกล่าวกับวงศ์วานอิสราเอล และจะเป็นการกล่าวภายใต้พันธสัญญาระหว่างพระเจ้ากับวงศ์วานอิสราเอล โดยตั้งอยู่บนเหตุการณ์ที่พระเจ้าทรงช่วยกู้ชนชาติอิสราเอลออกจากการเป็นทาสในอียิปต์<ref>หนังสืออพยพ 20:2,8, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref> วันสะบาโตเป็นเครื่องหมายแห่งพันธสัญญาระหว่างอิสราเอลกับพระเจ้า และชนชาติอิสราเอลได้รับพระบัญชาถือรักษาวันสะบาโตไว้ตราบเท่าที่ยังมีคนอิสราเอลอยู่<ref>หนังสืออพยพ 31:12-13, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref> ดังนั้นคริสเตียนจึงไม่ต้องถือรักษาวันสะบาโตเพราะเราไม่ใช่ชนชาติอิสราเอลที่ต้องอยู่ภายใต้พันธสัญญาระหว่างชนชาติอิสราเอลกับพระเจ้า คริสเตียนไม่ได้อยู่ภายใต้พันธสัญญาที่ตั้งอยู่บนการช่วยกู้จากอียิปต์เหมือนชนชาติอิสราเอล แต่อยู่ภายใต้พันธสัญญาใหม่ที่ตั้งอยู่บนการช่วยกู้ให้พ้นจากบาปโดย[[พระคริสต์]] และเรามีเครื่องหมายแห่งพันธสัญญาระหว่างเรากับพระเจ้าคือ[[พิธีบัพติศมา]]และ[[พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์]]<ref>พระวรสารนักบุญมัทธิว 26:26-28, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref><ref>หนังสือกิจการของอัครทูต 2:37-39, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref><ref>จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 11:23-26, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref> สรุปให้เข้าใจโดยง่ายก็คือคริสเตียนและคนยิวถือหนังสือสัญญาคนละฉบับ เนื้อหาของหนังสือสัญญาแต่ละฉบับย่อมมีความแตกต่างกัน การนำเนื้อหาและเงื่อนไขทั้งสองฉบับมาปะปนกันย่อมก่อให้เกิดปัญหาทั้งในด้านการทำความเข้าใจและในการปฏิบัติ ซึ่งสภาพการณ์เช่นนี้ก็เป็นดังที่[[พระเยซู]]ตรัสเปรียบเทียบว่าเหมือนการนำเหล้าองุ่นหมักใหม่มาใส่ในถุงหนังใบเก่า ซึ่งผลที่ตามมาคือความเสียหายเพราะถุงหนังเก่าจะไม่สามารถทนแรงดันของเหล้าองุ่นหมักใหม่<ref>พระวรสารนักบุญมัทธิว 9:17, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref>
 
สภาของอัครทูตและผู้ปกครองใน[[กรุงเยรูซาเลม]]ตามที่บันทึกในหนังสือกิจการของอัครทูต บทที่ 15 มีมติให้คริสเตียนที่เป็นชาวต่างชาติไม่ต้องเข้าพิธี[[สุหนัต]]หรือถือตามกฎข้อปฏิบัติของคนอิสราเอล ปัญหาใหญ่ของคริสตจักรยุคแรกเกิดจากความเข้าใจเรื่องข้อปฏิบัติต่าง ๆ ในศาสนายูดาห์ พระเยซูคริสต์ทรงเกิดเป็นชาวยิว อัครทูตและสาวกกลุ่มแรกก็เป็นชาวยิว ความเข้าใจเรื่องพระเจ้าของคริสเตียนก็มีพื้นฐานมาจากพระคัมภีร์ภาคพันธสัญญาเดิม หรือคัมภีร์[[โทราห์]]ของชาวยิว ดังนั้นจึงมีคริสเตียนกลุ่มใหญ่ที่เชื่อว่าเมื่อคนต่างชาติจะมาเป็นคริสเตียนนั้นจะต้องเข้าพิธีสุหนัตก่อน เพราะพิธีสุหนัตเป็นเหมือนประตูเข้าสู่ศาสนายูดาห์ เหมือนพิธีบัพติศมาเป็นประตูเข้าสู่ศาสนาคริสต์ และเมื่อรับพิธีสุหนัตแล้วก็ต้องถือรักษาระเบียบพิธีต่าง ๆ แบบชาวยิว<ref>จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวกาลาเทีย 5:3, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref> แต่ท่านเปาโลและพวกได้ต่อสู้กับความเชื่อดังกล่าวอย่างเต็มที่ ความขัดแย้งนี้จึงถูกนำเข้าสู่ที่ประชุมของสภาอัครทูตและผู้ปกครองในหนังสือกิจการของอัครทูต บทที่ 15 ซึ่งที่ประชุมมีมติให้คริสเตียนต่างชาติไม่ต้องเข้าพิธีสุหนัต และเมื่อไม่ต้องเข้าพิธีสุหนัตก็หมายความว่าไม่ต้องเข้าสู่พันธสัญญาระหว่างชนชาติอิสราเอลกับพระเจ้า ดังนั้นกฎอื่น ๆ ในศาสนายูดาห์จึงไม่เป็นกฎที่คริสเตียนถูกผูกมัดให้ถือปฏิบัติ เมื่อเราอ่านถึงสิ่งที่คริสเตียนในหนังสือกิจการของอัครทูตกระทำ เราต้องเข้าใจว่ามีวิถีการปฏิบัติที่แตกต่างกันระหว่างคริสเตียนยิวกับคริสเตียนที่เป็นคนต่างชาติ คริสเตียนต่างชาติที่ไม่ใช่ยิวจะถือรักษาเฉพาะพิธีบัพติศมาและพิธีมหาสนิท แต่คริสเตียนยิวในฐานะที่เป็นคริสเตียนเขาจะถือรักษาพิธีบัพติศมาและพิธีมหาสนิท และในฐานะที่เขาเป็นยิวเขาจะถือพิธีสุหนัต พีธี[[ปัสคา]]และถือรักษาวันสะบาโตด้วย ในหนังสือกิจการของอัครทูต บทที่ 21 ข้อ 17-26 ท่านเปาโลถูกกล่าวหาว่าสั่งสอนคนยิวในต่างแดนให้ละทิ้งวิถีปฏิบัติของยิว แต่เรื่องนี้ไม่เป็นความจริง ท่านจึงต้องทำการบนตัวตามหลักของพระบัญญัติที่พระวิหารเพื่อแสดงว่าท่านเองก็ยังปฏิบัติตามวิถีของคนยิวอย่างเคร่งครัด เพราะท่านก็เป็นยิวด้วย
 
มีหลักฐานจากข้อพระคัมภีร์ที่ต่อต้านคำสอนเรื่องให้คริสเตียนต่างชาติถือรักษาวันสะบาโต ในจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโคโลสี บทที่ 2 ข้อ 16 กล่าวว่า ''”เพราะ‍ฉะนั้น​อย่า​ให้​ใคร​พิพาก‌ษา​ท่าน​ทั้ง‍หลาย​ใน​เรื่อง​การ​กิน การ​ดื่ม ใน​เรื่อง​เทศ‌กาล หรือ​วัน​ต้น‍เดือน หรือ​วัน‍สะ‌บา‌โต”'' (จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโคโลสีเป็นจดหมายที่เขียนถึงคริสเตียนในเมืองโคโลสีซึ่งไม่ได้เป็นคนยิว) และเราก็ไม่เคยพบว่าพระคริสต์หรืออัครทูตได้มีคำสั่งให้คริสเตียนถือรักษาวันสะบาโตสักครั้งเดียว ถ้าหากว่าคำสอนเรื่องการถือรักษาวันสะบาโตเป็นเรื่องสำคัญพระคริสต์และอัครทูตก็ย่อมต้องกล่าวถึงเรื่องนี้หลายครั้ง การที่พระคริสต์และอัครทูตไม่เคยสั่งการให้ถือรักษาวันสะบาโตก็ย่อมแสดงว่าเรื่องวันสะบาโตไม่ใช่หน้าที่ของคริสเตียนที่จะต้องถือปฏิบัติ
 
== สถานที่ที่ถูกต้องในการนมัสการพระเจ้า ==
ในสมัยพระเยซูคริสต์ชาวยิวกับชาวสะมาเรียถกเถียงกันเรื่องสถานที่ที่ถูกต้องในการนมัสการพระเจ้า ชาวสะมาเรียเชื่อว่าภูเขาเกริชิมคือสถานที่ซึ่งพระเจ้าทรงกำหนดไว้เพื่อเป็นสถานนมัสการ ส่วนชาวยิวเชื่อว่าพระเจ้าทรงกำหนดกรุงเยรูซาเลมให้เป็นที่ตั้งของพระวิหารเพื่อการนมัสการ แต่พระคริสต์ตรัสสอนในพระวรสารนักบุญยอห์น บทที่ 4 ว่าสาระสำคัญของการนมัสการไม่ไช่เรื่องสถานที่แต่เป็นท่าทีของเราในการนมัสการ พระเยซูสอนว่าการนมัสการที่แท้จริงเป็นการนมัสการด้วยจิตวิญญาณและความจริง ในปัจจุบันเราก็ถกเถียงกันเรื่องว่าวันใดคือวันที่พระเจ้าทรงตั้งไว้เพื่อการนมัสการพระองค์ บางคนก็ว่าวันเสาร์ บางคนก็ว่าวันอาทิตย์ แต่พระคริสต์ก็ตรัสเหมือนเดิมว่าสาระสำคัญของการนมัสการไม่ได้อยู่ที่วันเสาร์หรือวันอาทิตย์ สาระสำคัญคือการนมัสการด้วยจิตวิญญาณและความจริง
 
ผู้เขียน ชวน พันธสัญญากุล
 
ยอห์น บทที่ 4 ข้อที่ 23
 
การนมัสการต้องมีความจริง หมายถึงการนมัสการตาม บทบัญญัติของพระเจ้า ในพันธสัญญาใหม่ สมัยพระบุตรพระเยชูคริสต์ทรงตั้งขึ้น "จิตวิญญาณแห่งความจริง" ต้องนมัสการตามบทบัญญัติของพระเจ้าไม่ใช่ของมนุษย์ ในสถานที่นมัสการของพระเจ้า ต้องไม่มีรูปเคารพ ตามพระบัญัติ สถานนมัสการของพระเจ้าต้องมีเทศกาลตามกำหนดของพระเจ้าเพียงนั่น หากนำเทศกาลของมนุษย์เข้ามาในสถานนมัสการ ถือเป็นการผิดพระบัญญัติ มัธทิว บทที่ 7 ข้อที่ 21 มิใช่ทุกคนที่เรียกเราว่าพระองค์เจ้าข้า จะได้เข้าแผ่นดิน สวรรค์ แต่ผู้ที่ปฏิบัติตามพระทัยของ พระบิดา เท่านั้น จึงจะเข้าได้
 
ผู้เขียน Isaac
 
== อ้างอิง ==
เส้น 50 ⟶ 23:
 
[[หมวดหมู่:วันสำคัญทางศาสนาคริสต์]]
 
{{โครงศาสนา}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สะบาโต"