ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิเหลียงอู่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Parpar2j (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Parpar2j (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
 
== พระประวัติ ==
องค์เซียวเหยี่ยน ประสูติเมื่อปี [[ค.ศ. 464]] เป็นบุตรของ เซียวซุ่นจือ(蕭順之) ซึ่งอ้างว่ามีบรรพชนสืบทอดสกุลมาจากเซียวเหอ(蕭何) ขุนนางผู้ยิ่งใหญ่สมัยราชวงศ์ฮั่น เซียวเหยี่ยน ทรงมีความสามารถเฉลียวฉลาดแต่ยังเยาว์วัย แรกเริ่มรับราชการเป็นขุนพลช่วยทัพขององค์ชายปาหลิง เซียวจื่อหลุน (蕭子倫) พระโอรสของจักรพรรดิฉีอู่ แห่งราชวงศ์ฉี ต่อมาก็รับตำแหน่งขุนนางในสังกัดมหาเสนาบดี หวังเจี้ยน (王儉) หวังเจี้ยนเคยออกปากชมว่า "คุณชายเซียวจะต้องได้รับตำแหน่งซื่อจงก่อนอายุ 30 ปี และมีชื่อเสียงเป็นที่เลื่อลื่อในตอนอายุ 30 ปี" ในตอนนั้นเซียวเหยียนเป็นหนึ่งในคุณชายทั้งแปดที่มีความสามารถโดดเด่นด้านบทกวี จึงได้รับความสนิทสนมจาองค์ชายจิงหลิง เซียวจื่อเหลียง (蕭子良), ฟ่านหยุน, เซียวเฉิน (蕭琛), เหรินฟาง (任昉), หวังหรง (王融), เซี่ยเตียว (謝朓), เสินเยว่ และ ลู่จุ่ย (陸倕). เมื่อบิดาของเขา เซียวซุนจืน เสียชีวิตในปี ค.ศ. 490 เซียวเหยียนก็ลาออกจากตำแหน่งหายจากราชสำนักไป และกลับมารับตำแหน่งเจ้าหน้าที่ เซียวจื่อเหลียง ในปีค.ศ. 493 แต่ไม่ได้ร่วมแผนการของหวังหรง ที่ทำรัฐประหารเพื่อช่วยให้เซียวจื่อเหลียงได้ขึ้นครองราชย์ ในขณะที่จักรพรรดิฉีอู่ประชวร องค์ชายรัชทายาทออกว่าราชการแทน และต่อมาบัลลังก์ก็ตกเป็นของ เซียวเจ้าเย่ (萧昭业) ตำแหน่งเจ้าเมืองหงโจว ราชวงศ์ฉีเกิดเข่นฆ่ากันเอง เซียวเหยียนจึงนำกำลังเข้ามายุติจลาจล จบราชวงศ์ฉี สถาปนาราชวงศ์เหลียง แต่ตั้งตนขึ้นเป็นจักรพรรดิเหลียงอู่
 
ในช่วงแรกนั้น นับเป็นยุคทองของราชวงศ์เหลียง พระองค์รับฟังความเห็นของบรรดาอำมาตย์ ประหยัดมัธยัสถ์ ส่งเสริมการศึกษา สร้างสาธารณูปโภคเป็นรากฐานของอาณาจักร แต่ขณะเดียวกันก็พร้อมรับการรุกรานของอาณาจักรอื่นๆ และในเวลาต่อมายังทรงนำทัพบุกโจมตีอาณาจักรเป่ยเว่ย จนมีอิทธิพลเหนืออาณาจักรนี้
บรรทัด 10:
อย่างไรก็ตาม ในปลายรัชกาลทรงสนพระทัยในกิจการอื่นๆมากเกินไป ละเลยราชกิจ ทำให้บ้านเมืองเกิดความปั่นป่วน จนขุนพลโหวจิ่ง(侯景) ก่อกบฏ ยพทักเข้ายึดนครหลวง แล้วจับพระองค์คุมขังไว้จนสวรรคต นักประวัติศาสตร์บางคนระบุว่า โหวจิ่งคุมขังพระองค์จนอดพระกระยาหาร สวรรคตในที่สุด เมื่อปี 549 พระชนมายุ 85 พรรษา
 
ขุนพลโหวจิ่ง ผู้นี้เดิมที่ขอลี้ภัยทางการเมืองจากเว่ยตะวันออกมาพึ่งอาณาจักรเหลียง ต่อมาเว่ยตะวันออกก็เสอข้อต่อรองราชสำนักเหลียง ราชสำนักจึงมีแผนจะส่งโหวจิ่งกลับวุ่ยตะวันออก โหวจิ่งจึงก่อกบฎร่วมกับ โอรสของฮ่องเต้เหลียงอู่ และ หลานชายองพระองค์ เซียวเจิ้งเต๋อ(蕭正德) บุตรชายอ๋องหกเซียวหวัง (萧宏) โหวจิ่งยกทัพล้อมเมืองหลวงเจี้ยนคัง(建康)นาน 300 กว่าวัน ฮ่องเต้เหลียงอู่ถูกจับตัวกักบริเวณและลดอาหารเหลือเพียงไข่ดิบ โดยให้ต้มไข่กินเอง จนสิ้นพระชนม์ โหวจิ่งเข้าควบคุมราชสำนัก กำจัดเซียวเจิ้งเต๋อ แต่งตั้งฮ่องเต้องค์ใหม่เป็นหุ่นเชิด ได้บีบบังคับเอาองค์หญิงลี่หยาง(溧陽公主)ซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์มาเป็นเมียจนมีลูกด้วยกันอย่างไม่เต็มใจ ระหว่างที่โหวจิ่งมีอำนาจก็ยกทัพปล้นสะดมเมืองรอบข้าง ไล่ฆ่าประชาชนเป็นว่าเล่น ประชาชนมากมายต้องอดอยากจนตาย ในที่สุดเซียวยี่ (蕭繹) โอรสองค์ที่เจ็ดของเหลียงอู่ตี้ก็ส่งหวังเซิงเปี้ยน(王僧辩)และเฉินป้าเซียน (陈霸先)และกองทัพตระกูลเฉิน(陳)เข้าสู้รบกับโหวจิ่ง จนโหวจิ่งพ่ายแพ้แตกยับพากองทัพหนี ระหว่างหนีก็ถูกลูกน้องลบสังหารตาย ในปีค.ศ. 552-554 เซียวยี่ขึ้นเป็นฮ่องเต้พระองค์ใหม่นามว่าเหลียงหยวนตี้(梁元帝)สั่งให้ตัดหัวโหวจิ่งและแขวนประจานที่เมืองเจียงหลิง(江陵)จากนั่นจึงสั่งให้ต้มทำความสะอาด แล้วให้เอาไป ลงรัก ให้สวยงามและเก็บไว้ ส่วนศพโหวจิ่งที่เมืองหลวงเจี้ยนคัง ถูกชาวบ้านเอาไปหมักเกลือทำอาหารกินระบายความแค้นจนร่างเหลือแต่กระดูก เนื้อบางส่วนถูกนำไปถวายเป็นเครื่องเสวยองค์หญิงลี่หยาง องค์หญิงจึงเสวยด้วยความแค้น ส่วนซากกระดูกก็ถูกนักเลงสุราเผาเป็นขี้เถ้าผสมเหล้าดื่ม
ในที่สุดเซียวยี่ (蕭繹) โอรสองค์ที่เจ็ดของเหลียงอู่ตี้ก็ส่งหวังเซิงเปี้ยน(王僧辩)และเฉินป้าเซียน (陈霸先)และกองทัพตระกูลเฉิน(陳)เข้าสู้รบกับโหวจิ่ง จนโหวจิ่งพ่ายแพ้แตกยับพากองทัพหนี ระหว่างหนีก็ถูกลูกน้องลบสังหารตาย ในปีค.ศ. 552-554 เซียวยี่ขึ้นเป็นฮ่องเต้พระองค์ใหม่นามว่าเหลียงหยวนตี้(梁元帝)สั่งให้ตัดหัวโหวจิ่งและแขวนประจานที่เมืองเจียงหลิง(江陵)จากนั่นจึงสั่งให้ต้มทำความสะอาด แล้วให้เอาไป ลงรัก ให้สวยงามและเก็บไว้ ส่วนศพโหวจิ่งที่เมืองหลวงเจี้ยนคัง ถูกชาวบ้านเอาไปหมักเกลือทำอาหารกินระบายความแค้นจนร่างเหลือแต่กระดูก เนื้อบางส่วนถูกนำไปถวายเป็นเครื่องเสวยองค์หญิงลี่หยาง องค์หญิงจึงเสวยด้วยความแค้น ส่วนซากกระดูกก็ถูกนักเลงสุราเผาเป็นขี้เถ้าผสมเหล้าดื่ม