ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปางนาคปรก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: +ต้องการหมวดหมู่ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''ปางนาคปรก''' เป็นชื่อเรียก[[พระพุทธรูป]]ลักษณะนั่งสมาธิ และมีพระยานาคแผ่หัวเป็นพังพานขึ้นจากไหล่ไปปรกพระเศียรของพระพุทธรูป แต่เดิมทำเป็นรูปพระยานาคเป็นมนุษย์ มีรูปงู 7 หัวเป็นพังพานขึ้นจากไหล่ไปปรกพระเศียร ในกิริยาที่พระยานาคทำท่านมัสการพระพุทธเจ้า ต่อมาภายหลังทำพระยานาคเป็นรูปงูขดตัวเป็นฐานตั้งพระพุทธรูปนั่งสมาธิบนตัวพระยานาค และมีพังพานและหัวของพระยานาค 7 เศียรปกอยู่
 
{{ต้องการหมวดหมู่}}
== ประวัติ ==
หลังจากที่พระพุทธองค์ได้ทรงตรัสรู้ พระองค์ท่านได้แปรที่ประทับเพื่อเสวยวิมุติสุขยังสถานที่ต่าง ๆ ในอาณาบริเวณที่ไม่ห่างจากต้นพระศรีมหาโพธิ์นักโดยประทับแต่ละที่สัปดาห์ละ 7 วัน และในสัปดาห์ที่สาม ในขณะที่พระพุทธองค์ทรงประทับ ณ ใต้ต้นมุจลินท์ (ต้นจิก) ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของต้นพระศรีมหาโพธิ์ เมื่อพระพุทธองค์เสด็จมาประทับอยู่ที่นี่ ได้บังเกิดมีฝนและลมหนาวตกพรำตลอดเจ็ดวันไม่ขาดสาย ผู้รจนาปฐมสมโพธิได้แต่งเล่าเรื่องไว้ว่า พญานาคชื่อ "มุจลินท์" ได้ขึ้นจากสระน้ำที่อยู่ในบริเวณแห่งเดียวกันนี้ เข้าไปวงขนด 7 รอบ แล้วแผ่พังพานปกพระพุทธเจ้า เพื่อป้องกันลมฝนมิให้พัดและสาดกระเซ็นมาต้องพระวรกาย ครั้นฝนหาย ฟ้าสาง พญานาคจึงคลายขนดออก แล้วจำแลงเป็นเพศมาณพยืนเฝ้าพระพุทธเจ้าทางเบื้องพระพักตร์ ลำดับนั้นพระพุทธองค์จึงทรงเปล่งอุทานว่า “
เส้น 18 ⟶ 17:
==ความเชื่อและคตินิยม==
*เป็นพระพุทธรูปประจำวันเกิดของคนเกิดวันเสาร์
*'''พระคาถาบูชา''' สวด 10 จบ (องคุลีมาลปริตร) ดังนี้ "ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิ ชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ"
'''ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิ ชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตา เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ'''
 
==อ้างอิง==