ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โชตากง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
เช่นเดียวกับโลลิคอน โชะตะคอนนั้นสัมพันธ์กับทัศนคติเรื่อง[[คะวะอี]] (kawaii, ความน่ารัก) และ[[โมะเอะ]] (moe, บุคลิกลักษณะน่ารัก อ่อนหวาน อ่อนวัย และชวนปกป้องดูแล) องค์ประกอบโชะตะคอน อาทิ [[ยะโอะอิ]] (yaoi, ชายรักร่วมเพศ) นั้น ค่อนข้างดาษดื่นในมังงะประเภท[[โชโจะ]] (shōjo, มังงะที่มีกลุ่มลูกค้าเป็นหญิงสาววัยรุ่น) เช่น เรื่อง ''[[Loveless (manga)|เลิฟเลส]] (Loveless)'' ที่ว่าด้วยความสัมพันธ์เชิงสังวาสระหว่างเด็กชายอายุสิบสองปีกับผู้ชายอายุยี่สิบปี ส่วนมังงะประเภท[[เซเน็ง]] (seinen, มังงะที่มีกลุ่มลูกค้าเป็นชายหนุ่ม) โดยเฉพาะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็น[[โอะตะกุ]] (otaku, ผู้นิยมมังงะ อะนิเมะ หรือวิดีโอเกมเป็นพิเศษ) นั้น บางคราวก็แสดงตัวละครชายวัยรุ่นไปในเชิงเร้ากามารมณ์แต่ไม่ลามกอนาจาร เช่น เรื่อง ''[[Yubisaki Milk Tea|ยุบิซะกิมิลก์ที]] (Yubisaki Milk Tea)'' ที่มีตัวเอกเป็นเด็กชายลักเพศอายุสิบหกปี
 
นักวิพากษ์วิจารณ์บางคนเห็นว่า งานประเภทโชะตะคอนนั้นส่งผลให้เกิด[[การล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็ก]]ขึ้นจริง ๆ<ref name="comic relief">{{cite news|url=http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/fl20040427zg.html|title=Does comic relief hurt kids?|author=Tony McNicol|work=[[The Japan Times]]|date=2004-04-27|accessdate=2008-01-18}}</ref> ขณะที่นักวิจารณ์กลุ่มอื่น ๆ แย้งว่า ข้ออ้างดังกล่าวไม่มีพยานหลักฐานรองรับ<ref name="comic relief"/> และถึงมี ก็เป็นพยานหลักฐานที่บ่งชี้ไปในทางอื่นเสียมากกว่า<ref name="Diamond and Uchiyama">{{cite journal|url=http://www.hawaii.edu/PCSS/biblio/articles/1961to1999/1999-pornography-rape-sex-crimes-japan.html|title=Pornography, Rape and fightSex Crimes in Japan|author=[[Milton Diamond]] and Ayako Uchiyama|journal=International Journal of Law and Psychiatry|volume=22|issue=1|pages=1–22|year=1999|accessdate=2008-01-06|doi=10.1016/S0160-2527 (98) 00035-1|pmid=10086287}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โชตากง"