ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZenithZealotry (คุย | ส่วนร่วม)
Kalasee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล คณะในมหาวิทยาลัย
{{รอการตรวจสอบ}}
| ชื่อ = วิทยาลัยราชสุดา <br>มหาวิทยาลัยมหิดล
{{เก็บกวาดสถานศึกษา}}
| ภาพ = [[ไฟล์:logo Mahidol.png| 150px]]
| ชื่ออังกฤษ = Ratchasuda College <br />
Mahidol University
| ชื่อย่อ = RS
| คำขวัญ =
| ปรัชญา =
| ปณิธาน =
| วิสัยทัศน์ =
| วันที่ก่อตั้ง = [[25 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2536]] <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/A/035/5.PDF จัดตั้งวิทยาลัยราชสุดา]</ref>
| คณบดี = ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพา ขจรธรรม
| สีประจำคณะ = {{color box|#F4AFBB}} {{color box|#A56FAF}} [[สีชมพู]] - [[สีม่วง]]
| วารสารคณะ = วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
| ที่อยู่ = วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล ๑๑๑ หมู่ ๖ ถ.พุทธมณฑล สาย ๔ ศาลายา นครปฐม ๗๓๑๗๐
| เบอร์โทรศัพท์ = หมายเลขโทรศัพท์ :: ๖๖ (๐) ๒๘๘๙ - ๕๓๑๕
| เว็บ = [http://www.rs.mahidol.ac.th/thai/index.html www.rs.mahidol.ac.th]
}}
'''วิทยาลัยราชสุดา''' เป็นสถาบันอุดมศึกษาสำหรับผู้พิการ ตั้งอยู่ภายในบริเวณ'''[[มหาวิทยาลัยมหิดล]]''' ตำบลศาลายา [[อำเภอพุทธมณฑล]] [[จังหวัดนครปฐม]] โดยพระมหากรุณาธิคุณ ของ[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ซึ่งทรงตระหนักถึงความจำเป็น ของการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนพิการไทยให้ดียิ่งขึ้น เนื่องจากทรงใกล้ชิดกับคนพิการแต่ละประเภทมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ จึงทรงเข้าพระทัยในสภาพปัญหาและความต้องการของคนพิการเป็นอย่างดี ทรงเชื่อในศักยภาพของคนพิการในอันที่จะศึกษาเล่าเรียน พัฒนาทักษะด้านอาชีพและด้านอื่น ๆ จนมีความพร้อมที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข สามารถพึ่งตนเองและเป็นประโยชน์ต่อสังคมได้ แต่สิ่งที่คนพิการส่วนใหญ่ยังขาดก็คือ โอกาส และที่สำคัญที่สุดก็คือโอกาสทางการศึกษา
 
== ประวัติ ==
ดังนั้น ในปี [[พ.ศ. 2534]] จึงพระราชทานแนวพระราชดำริแก่มหาวิทยาลัยมหิดล เกี่ยวกับการจัดตั้งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่จะให้การสนับสนุนทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ในด้านการพัฒนาศักยภาพสมรรถภาพความพร้อมทางการศึกษา โอกาสในด้านการประกอบอาชีพ ตลอดจนคุณภาพชีวิตของคนพิการ ซึ่งในที่สุดได้นำไปสู่พระราชกฤษฎีกาการจัดตั้งวิทยาลัยราชสุดาขึ้นในปี [[พ.ศ. 2536]] โดยมีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งของมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมกันนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ จัดตั้งมูลนิธิราชสุดาขึ้นในปี [[พ.ศ. 2534]] โดยทรงเป็นสมเด็จองค์ประธาน เพื่อให้การสนับสนุนในกิจกรรมต่าง ๆ ของวิทยาลัยราชสุดาด้วย
'''วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล''' เกิดขึ้นจากน้ำพระทัยอันเปี่ยมล้นด้วยพระเมตตาคุณและพระมหากรุณาธิคุณของ[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]]ซึ่งทรงทราบด้วยพระวิสัยทัศน์อันยาวไกลในความจำเป็นที่คนพิการไทยจะต้องมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เนื่องจากทรงใกล้ชิดกับคนพิการแต่ละประเภทมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ จึงทรงเข้าพระทัยในสภาพปัญหาและความต้องการของคนพิการเป็นอย่างดี ทรงเชื่อในสักยภาพของคนพิการในอันที่จะศึกษาเล่าเรียนพัฒนาด้านอาชีพและด้านอื่นๆ จนมีความพร้อมที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข สามารถพึ่งตนเองและเป็นประโยชน์ต่อสังคมได้ แต่สิ่งที่คนพิการส่วนใหญ่ยังขาดก็คือ โอกาส และที่สำคัญ ที่สุดก็คือ โอกาสทางการศึกษา
 
'''ดังนั้น ในปี [[พ.ศ. 2534]]''' จึงพระราชทานแนวพระราชดำริแก่[[มหาวิทยาลัยมหิดล]] เกี่ยวกับการจัดตั้งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่จะให้การสนับสนุนทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ในด้านการพัฒนาศักยภาพสมรรถภาพความพร้อมทางการศึกษา โอกาสในด้านการประกอบอาชีพ ตลอดจนคุณภาพชีวิตของคนพิการ ซึ่งในที่สุดได้นำไปสู่พระราชกฤษฎีกาการจัดตั้งวิทยาลัยราชสุดาขึ้นในปี [[พ.ศ. 2536]] โดยมีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งของมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมกันนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ จัดตั้งมูลนิธิราชสุดาขึ้นในปี [[พ.ศ. 2534]] โดยทรงเป็นสมเด็จองค์ประธานมูลนิธิ เพื่อให้การสนับสนุนในกิจกรรมต่าง ๆ ของวิทยาลัยราชสุดาด้วย
 
ในวันอังคาร ขึ้น ๑๕ ค่ำ ที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งตรงกับวันวิสาขบูชา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระ ราชทานสร้อยพระนาม "ราชสุดา" อันเป็นมงคลนามสำหรับชื่อวิทยาลัยและมูลนิธิ วิทยาลัยราชสุดา จึงถือเอาวันอังคารที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๓๔ เป็นฤกษ์กำเนิด ของวิทยาลัยและกำหนดสีประจำของวิทยาลัยเป็นสีชมพูอ่อน ซึ่งเป็นสีประจำวันอังคาร
 
สภามหาวิทยาลัยมหิดล ในคราวประชุม ครั้งที่ ๒๒๒ วันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๓๕ ได้ให้ความเห็นชอบในการจัดตั้งวิทยาลัยราชสุดา ในมหาวิทยาลัยมหิดล และนำเสนอ ทบวงมหาวิทยาลัยในขณะนั้น ต่อมา คณะกรรมการทบวงมหาวิทยาลัยในคราวประชุมครั้งที่ ๘/๒๕๓๕ วันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๓๕ ได้ให้ความเห็นชอบในการจัดตั้งวิทยาลัยราชสุดา คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๖ อนุมัติให้จัดตั้งวิทยาลัยราชสุดาและมีประกาศพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งวิทยาลัยราชสุดา ลงวันที่ ๒๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ในวันอังคาร ขึ้น ๑๕ ค่ำ ที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๖ ตรงกับวันที่ระลึกมหาจักรีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงวาง ศิลาฤกษ์อาคารอำนวยการวิทยาลัยราชสุดา
 
วิทยาลัยราชสุดา ได้เริ่มดำเนินงานจากโครงการจัดตั้งศูนย์พัฒนาและวิจัยผู้พิการทางกายภาพในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๓๕ และต่อมาเมื่อได้รับการจัดตั้งอย่าง เป็นทางการจึงได้รับงบประมาณแผ่นดินสนับสนุนการก่อสร้างอาคารสถานที่ และเริ่มดำเนินกิจกรรมของวิทยาลัย สภามหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งที่ ๒๓๕ ได้มีมติ แต่งตั้งให้ '''ศาสตราจารย์พูนพิศ อมาตยกุล''' ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัยราชสุดา เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นต้นไป และจากนั้นเป็นต้นมา วิทยาลัยได้ดำเนินการจัดเตรียมอาคาร สถานที่ บุคลากร หลักสูตร การวิจัยและการจัดบริการวิชาการต่างๆเพื่อให้บริการแก่ผู้พิการ จนกระทั่งปีพ.ศ. ๒๕๔๐ จึงพร้อมดำเนินการเปิดหลักสูตรแรกและขยายบริการวิชาการอย่างกว้างขวางขึ้น กิจการของวิทยาลัยจึงได้พัฒนาเจริญก้าวหน้า มาตามลำดับจนกระทั่งปัจจุบัน ภายใต้การบริหารจัดการโดย '''ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพา ขจรธรรม''' ที่มุ่งมั่นเพื่อสืบทอด เจตนารมย์ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการไทยและเครือข่ายความร่วมมือทางด้านคนพิการกับนานาประเทศ <ref> [http://www.rs.mahidol.ac.th/thai/about_faculty/about-ratchasuda-college.html ประวัติวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล]</ref>
 
== ทำเนียบคณบดี ==
 
{| class="wikitable" width=100%
|-
! colspan = "3" style="background: #E31B47" align="center" | <span style="color:White"> วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
|-
! style="background: #D8216D; color:white;"| รายนามคณบดี
! style="background: #D8216D; color:white;"| วาระการดำรงตำแหน่ง
|-
| align = "left"| 1. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ.พูนพิศ อมาตยกุล
| ๒๖ กันยายน ๒๕๓๖ - ๒๕ กันยายน ๒๕๔๐
|-
| align = "left"| 2. รองศาสตราจารย์ ดร.ฉลอง บุญญานันต์
| ๒๖ กันยายน ๒๕๔๐ - ๓๐ กันยายน ๒๕๔๑
|-
| align = "left"| 3. ดร. จิตประภา ศรีอ่อน
| ๑ ตุลาคม ๒๕๔๑ - ๓๐ กันยายน ๒๕๔๙
|-
| align = "left"| 4. ดร.สุมาลี ดีจงกิจ
| ๑ ตุลาคม ๒๕๔๙ - ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๐
|-
| align = "left"| 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิมพา ขจรธรรม
| ๒๔ เมษายน ๒๕๕๑ - ๒๓ เมษายน ๒๕๕๕
|-
| align = "left"| 6. รองศาสตราจารย์ ดร. ทวี เชื้อสุวรรณทวี
| ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕ - ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙
|-
| align = "left"| 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพา ขจรธรรม
| ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๕ - ปัจจุบัน <ref> http://www.uc.mahidol.ac.th/pdf-file/council-statement2559/12-2559.pdf </ref>
|-
|}
 
== ที่ตั้ง ==