ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชั้นโอโซน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Supre.nee (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ชั้นโอโซน''' ({{lang-en|zone layer}}) เป็นส่วนหนึ่ง[[ชั้นบรรยากาศของโลก]]ที่ประกอบด้วย[[โอโซน]]ในปริมาณมาก ชั้นโอโซนช่วยดูดซับ[[รังสีอัลตราไวโอเลต]]จาก[[ดวงอาทิตย์]]ประมาณ 97-99% ของรังสีทั้งหมดที่แผ่มายังโลก
 
โอโซนคือรูปแบบพิเศษของออกซิเจน ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ในชั้นของบรรยากาศชั้นบน ๆ ชั้นโอโซนนี้มีความสำคัญและมีประโยชน์ต่อโลก
บรรทัด 7:
 
ปริมาณของรังสีอุลตราไวโอเล็ตจำนวนมาก อาจทำให้ผิวหนังเกิดอาการอักเสบรุนแรง เกิดโรคผิวหนังและปัญหาเกี่ยวกับดวงตา รังสีอุลตราไวโอเล็ตยัง ลดความสามารถของร่างกายมนุษย์ ในการต่อสู้กับโรคต่าง ๆ นอกจากนี้รังสีอุลตราไวโอเล็ตปริมาณมาก ยังทำลายพืชในไร่และต้นพืชเล็ก ๆ ในทะเลซึ่งเป็นอาหารของปลา หากต้องไปอยู่ท่ามกลางแสงแดด ควรทาครีมป้องกันผิว ครีมทาผิวเหล่านี้จะมีตัวเลขบอกปริมาณการปกป้องผิวจากรังสีอุลตราไวโอเล็ตได้
 
:ผู้ค้นพบโอโซนชื่อ Christian Friedrich Schonbein [http://sciencenotes.org/today-science-history-october-18-christian-friedrich-schonbein/]ในขณะที่เขากำลังทำการทดลองการวัดการคายประจุไฟฟ้าของน้ำ พบว่าน้ำมีกลิ่นฉุนคล้ายกลิ่นอากาศตอนฝนฟ้าคะนอง ทำให้เขาสนใจและศึกษาต่อจนได้ชื่อตั้งก๊าซนี้ว่า ก๊าซโอโซน (Ozone) ซึ่งมาจากรากศัพท์ภาษากรีก "Ozein" แปลว่า กลิ่น
ในวันที่ 16 กันยายน ของทุกปีนับตั้งแต่ปี 2530 เป็นต้นมา ได้ถูกกำหนดให้เป็น วันโอโซนโลก (World Ozone Day) [http://www.seub.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=1272:libraly&catid=115:event&Itemid=145]เพื่อให้ตระหนักถึงประโยชน์ของชั้นโอโซนและชั้นบรรยากาศต่างๆ ของโลก และช่วยอนุรักษ์ของชั้นโอโซน
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Ozone layer}}