ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เวลามาตรฐานกรีนิช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สกุลกาญจน์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''เวลามาตรฐานกรีนิช''' หรือ '''เวลามัชฌิมกรีนิช''' ({{lang-en|Greenwich Mean Time}}) ชื่อย่อ '''จีเอ็มที''' (GMT) แต่เดิมเป็นคำใช้เรียก[[เวลาสุริยคติ|เวลาสุริยคติมัชฌิม]]ที่[[หอดูดาวหลวงกรีนิช]] [[กรีนิช|เมืองกรีนิช]] [[สหราชอาณาจักร]] ปัจจุบันคำนี้มักใช้เพื่อหมายถึง[[เวลาสากลเชิงพิกัด]] (ยูทีซี) ในฐานะ[[เขตเวลา]] แม้ว่าหากถือโดยเคร่งครัดแล้ว ยูทีซีนั้นเป็น[[มาตรฐานเวลา]]ที่วัดโดย[[นาฬิกาอะตอม]] ซึ่งจะเท่ากันเพียงโดยประมาณกับจีเอ็มทีในความหมา<span lang="th">ย</span>ความหมายเดิม จีเอ็มทียังใช้หมายถึง[[เวลาสากล]] (ยูที) ซึ่งเป็นเวลาเชิงดาราศาสตร์ที่กำหนดขึ้นเพื่อทดแทนจีเอ็มทีโดยตรง
 
เวลาเที่ยงวันของมาตรฐานกรีนิชนั้นไม่จำเป็นต้องเป็นเวลาที่[[ดวงอาทิตย์]]ข้ามผ่าน[[เส้นเมริเดียนแรก]]ที่กรีนิชเสมอไป ทั้งนี้เนื่องจาก[[การโคจร]]ของ[[โลก]]เป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์มีอัตราเร็วไม่สม่ำเสมอและแกนโลกที่เอียง เวลาเที่ยงวันกรีนิชอาจต่างจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ข้ามผ่านเส้นเมริเดียนแรกถึง 16 นาที จึงจำเป็นต้องสมมุติดวงอาทิตย์มัชฌิม ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยจากการปรับการเคลื่อนที่ที่ไม่สม่ำเสมอของดวงอาทิตย์ดวงจริงขึ้นใช้คำนวณแทน ดวงอาทิตย์มัชฌิมนี้เองเป็นที่มาของคำว่า ''มัชฌิม'' ในคำว่าเวลามัชฌิมกรีนิช
แม้ว่าหากถือโดยเคร่งครัดแล้ว ยูทีซีนั้นที่วัดโดย[[นาฬิกาอะตอม]] ซึ่งจะเท่ากันเพียงโดยประมาณกับจีเอ็มทีในความหมา<span lang="th">ย</span>เดิม จีเอ็มทียังใช้หมายถึง[[เวลาสากล]] (ยูที) ซึ่งเป็นเวลาเชิงดาราศาสตร์ที่กำหนดขึ้นเพื่อทดแทนจีเอ็มทีโดยตรง
 
ก่อน [[ค.ศ. 1925]] นักดาราศาสตร์ใช้จีเอ็มทีโดยนับเที่ยงวันเป็นชั่วโมงที่ศูนย์ (เวลาศูนย์นาฬิกา) ในขณะที่ประชาชนทั่วไปนับเที่ยงคืนเป็นชั่วโมงที่ศูนย์ นักดาราศาสตร์ได้เปลี่ยนมานับเที่ยงคืนเป็นชั่วโมงที่ศูนย์เช่นเดียวกับประชาชนทั่วไปตั้งแต่ ค.ศ. 1925 ทำให้ในประวัติศาสตร์มีวิธีการนับชั่วโมงของจีเอ็มทีด้วยกันสองแบบ ส่วนยูทีและยูทีซีนั้นไม่มีความกำกวมตรงนี้ เนื่องจากทั้งสองมาตรฐานนับเที่ยงคืนเป็นเวลาศูนย์นาฬิกามาโดยตลอด
เวลาเที่ยงวันของมาตรฐานกรีนิชนั้นไม่จำเป็นต้องเป็นเวลาที่[[ดวงอาทิตย์]]ข้ามผ่าน[[เส้นเมริเดียนแรก]]ที่กรีนิชเสมอไป ทั้งนี้เนื่องจาก[[การโคจร]]ของ[[โลก]]เป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์มีอัตราเร็วไม่สม่ำเสมอและแกนโลกที่เอียง เวลาเที่ยงวันกรีนิชอาจต่างจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ข้ามผ่านเส้นเมริเดียนแรกถึง 16 นาที จึงจำเป็นต้องสมมุติดวงอาทิตย์ม ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยจากการปรับการเคลื่อนที่ที่ไม่สม่ำเสมอของดวงอาทิตย์ดวงจริงขึ้นใช้คำนวณแทน ดวงอาทิตย์มัชฌิมนี้เองเป็นที่มาของคำว่า ในคำว่าเวลามัชฌิมกรีนิช
 
== ดูเพิ่ม ==
ก่อน นักดาราศาสตร์ใช้จีเอ็มทีโดยนับเที่ยงวันเป็นชั่วโมงที่ศูนย์ (เวลาศูนย์นาฬิกา) ในขณะที่ประชาชนทั่วไปนับเที่ยงคืนเป็นชั่วโมงที่ศูนย์ นักดาราศาสตร์ได้เปลี่ยนมานับเที่ยงคืนเป็นชั่วโมงที่ศูนย์เช่นเดียวกับประชาชนทั่วไปตั้งแต่ ค.ศ. 1925 ทำให้ในประวัติศาสตร์มีวิธีการนับชั่วโมงของจีเอ็มทีด้วยกันสองแบบ ส่วนยูทีและยูทีซีนั้นไม่มีความกำกวมตรงนี้ เนื่องจากทั้งสองมาตรฐานนับเที่ยงคืนเป็นเวลาศูนย์นาฬิกามาโดยตลอด
* [[เวลาสากลเชิงพิกัด]] (GMTUTC +07:00- Coordinated Universal Time)
 
== ดูเ<span lang="th">พิ่</span>ม ==
* เวลาสากลเชิงพิกัด (GMT +07:00-Coordinated Universal Time)
 
[[หมวดหมู่:หน่วยเวลา]]
{{โครงภูมิศาสตร์}}