ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
| rowclass5 = mergedrow| label5 = [[ภาษาลาว|ลาว]]: | data5 = {{lang|lo|ສະມາຄົມປະຊາຊາດແຫ່ງອາຊີຕະເວັນອອກສຽງໃຕ້}}
| rowclass6 = mergedrow| label6 = [[ภาษามาเลย์|มาเลเซีย]]: | data6 = {{lang|ms|Persatuan Negara-Negara Asia Tenggara}}
| rowclass1 = mergedrow| label1 = [[ภาษาพม่า|เมียนมาร์พม่า]]: | data1 = {{lang|my|အရှေ့တောင်အာရှနိုင်ငံများအသင်း}}
| rowclass2 = mergedrow| label2 = [[ภาษาฟิลิปีโน|ฟิลิปปินส์]]: | data2 = {{lang|tl|Samahan ng mga Bansa sa Timog-Silangang Asya}}
| rowclass8 = mergedrow| label8 = [[ภาษาทมิฬ|ทมิฬ]]: | data8 = {{lang|ta|தென்கிழக்காசிய நாடுகளின் கூட்டமைப்பு}}
บรรทัด 43:
|titlestyle = background:transparent;text-align:left;font-weight:normal;
|title = 10 ประเทศ
| {{hlist |[[บรูไน]]|[[กัมพูชา]]|[[อินโดนีเซีย]]|[[ลาว]]|[[มาเลเซีย]]|[[เมียนมาร์พม่า]]|[[ฟิลิปปินส์]]|[[สิงคโปร์]]|[[ไทย]]|[[เวียดนาม]]}}}}<br>
{{collapsible list
|titlestyle = background:transparent;text-align:left;font-weight:normal;
บรรทัด 90:
[[ไฟล์:ASEAN HQ 1.jpg|thumb|right|250px|ทำเนียบเลขาธิการอาเซียน ที่[[ประเทศอินโดนีเซีย]]]]
 
'''สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้''' ({{lang-en|Association of South East Asian Nations}}) หรือ '''อาเซียน''' (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ [[ประเทศกัมพูชา|กัมพูชา]] [[ประเทศไทย|ไทย]] [[ประเทศบรูไนดารุสซาลาม|บรูไน]] [[ประเทศเมียนมาร์พม่า|เมียนมาร์พม่า]] [[ประเทศฟิลิปปินส์|ฟิลิปปินส์]] [[ประเทศมาเลเซีย|มาเลเซีย]] [[ประเทศลาว|ลาว]] [[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]] [[ประเทศสิงคโปร์|สิงคโปร์]] และ[[ประเทศอินโดนีเซีย|อินโดนีเซีย]] อาเซียนมีพื้นที่ราว 4,435,618 ตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 625 ล้านคน<ref>[http://www.aseansec.org/stat/SummaryTable.pdf Selected basic ASEAN indicators]. สืบค้น 05-09-2010</ref> ในปี พ.ศ. 2553 [[จีดีพี]]ของประเทศสมาชิกรวมกันคิดเป็นมูลค่าราว 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref>[http://www.delidn.ec.europa.eu/en/relations/relations_4.htm/ EC.Europa.eu], European Union Relations with ASEAN. Retrieved 29 October 2010.</ref> คิดเป็นลำดับที่ 9 ของโลกเรียงตามจีดีพี อาเซียนมี[[ภาษาอังกฤษ]]เป็นภาษาทางการ<ref name="Eng"/>
 
อาเซียนมีจุดเริ่มต้นจากสมาคมอาสา ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน '''[[ปฏิญญากรุงเทพ]]''' อาเซียนได้ถือกำเนิดขึ้นโดยมีรัฐสมาชิกเริ่มต้น 5 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ<ref>[http://www.aseansec.org/64.htm Overview], ASEAN Secretariat official website. Retrieved 12 June 2006</ref> หลังจาก พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา อาเซียนมีรัฐสมาชิกเพิ่มขึ้นจนมี 10 ประเทศในปัจจุบัน [[กฎบัตรอาเซียน]]ได้มีการลงนามเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งทำให้อาเซียนมีสถานะคล้ายกับ[[สหภาพยุโรป]]มากยิ่งขึ้น<ref>[http://www.google.com/hostednews/afp/article/ALeqM5gT16o2eXYrGL-35uoUD0fKcRPlDw 'Momentous' day for ASEAN as charter comes into force]. AFP. สืบค้น 05-09-2010</ref> [[เขตการค้าเสรีอาเซียน]]ได้เริ่มประกาศใช้ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2553 และกำลังก้าวสู่ความเป็น[[ประชาคมอาเซียน]] ซึ่งจะประกอบด้วยสามด้าน คือ ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558<ref>[http://m.posttoday.com/article.php?id=43258&channel_id=11000 เคาต์ดาวน์สู่ ประชาคมอาเซียน]. (8 สิงหาคม 2553). โพสต์ทูเดย์. สืบค้น 05-09-2010.</ref>
บรรทัด 219:
 
=== เขตการค้าเสรี ===
รากฐานของการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเริ่มต้นมาจาก[[เขตการค้าเสรีอาเซียน]]<ref name="asil1"/> ซึ่งเป็นการลดอัตราภาษีศุลกากรเพื่อให้สินค้าภายในอาเซียนเกิดการหมุนเวียน เขตการค้าเสรีอาเซียนเป็นข้อตกลงโดยสมาชิกกลุ่มอาเซียนซึ่งกังวลต่อผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่นของตน ได้รับการลงนามในสิงคโปร์เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2535 ประกอบไปด้วยประเทศสมาชิก 10 ประเทศ คือ บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย เวียดนาม (เข้าร่วมในปี 2538) ลาว เมียนมาร์พม่า (เข้าร่วมในปี 2540) และกัมพูชา (เข้าร่วมในปี 2542)<ref>{{cite web|url=http://www.aseansec.org/12375.htm |title=Agreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for the ASEAN Free Trade Area, Singapore, 28 January 1992 |publisher=Aseansec.org |date= |accessdate=2008-12-21}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.aseansec.org/12021.htm |title=Overview |publisher=Aseansec.org |date= |accessdate=2008-12-21}}</ref>
 
=== เขตการลงทุนร่วม ===
บรรทัด 230:
* ดำเนินการตามมาตรการอำนวยความสะดวกในการลงทุน
 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากเขตการลงทุนร่วมจะเป็นการกำจัดการกีดกันในกิจการเกษตรกรรม การประมง การป่าไม้และการทำเหมืองแร่ ซึ่งคาดว่าจะสำเร็จภายในปี พ.ศ. 2553 สำหรับประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียนเป็นส่วนใหญ่ และคาดว่าจะสำเร็จในปี พ.ศ. 2558 สำหรับประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์พม่าและเวียดนาม<ref name="aseansec2"/>
 
=== การแลกเปลี่ยนบริการ ===