ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท้าวสุรนารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Eurodyne (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 171.5.250.185 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 171.4.17.70
บรรทัด 3:
 
== ประวัติ ==
ท้าวสุรนารี มีนามเดิมว่า "โม" (แปลว่า ใหญ่มาก) หรือ ท้าวมะโหโรง เป็นชาวเมืองนครราชสีมาโดยกำเนิด เกิดเมื่อปีระกา [[พ.ศ. 2314]] มีนิวาสถานอยู่ ณ บ้านตรงกันข้ามกับวัดพระนารายณ์มหาราช (วัดกลางนคร) ทางทิศใต้ของเมืองนครราชสีมา<ref name="ประวัติ">[http://www.moohin.com/043/043k001.shtml ประวัติท้าวสุรนารี]</ref> เป็นธิดาของนายกิ่มและนางบุญมา มีพี่สาวหนึ่งคนชื่อ แป้นาผล ไม่มีสามี จึงอยู่ด้วยกันจนวายชนม์ มีน้องชายหนึ่งคน ชื่อ จุก (ภายหลังได้เป็นเจ้าเมืองพนมซร็อก ต่อมามีการอพยพชาวเมืองพนมซร็อกมาอยู่ริมคูเมืองนครราชสีมาด้านใต้ จึงเอาชื่อเมืองพนมซร็อกมาตั้งชื่อ บ้านพนมศรก ต่อมาเรียกเพี้ยนเป็นบ้านสก อยู่หลัง[[สถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ]]จนทุกวันนี้) <ref name="ประวัติ"/>
สวัสดีจ้า
 
เมื่อปี [[พ.ศ. 2339]] โม เมื่ออายุได้ 25 ปี ได้แต่งงานสมรสกับนายทองคำขาว พนักงานกรมการเมืองนครราชสีมา ต่อมานายทองคำขาว ได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น "พระภักดีสุริยเดช" ตำแหน่งรองปลัดเมืองนครราชสีมา นางโม จึงได้เป็น คุณนายโม และต่อมา "พระภักดีสุริยเดช" ได้เลื่อนเป็น "พระยาสุริยเดช" ตำแหน่งปลัดเมืองนครราชสีมา คุณนายโมจึงได้เป็น คุณหญิงโม <ref name="ประวัติ"/> ชาวเมืองนครราชสีมาเรียกท่านทั้งสองเป็นสามัญว่า "'''คุณหญิงโม'''" และ "'''พระยาปลัดทองคำ'''" ท่านเป็นหมันไม่มีทายาทสืบสายโลหิต ชาวเมืองนครราชสีมาทั้งหลายจึงพากันเรียกแทนตัวคุณหญิงโมว่า แม่ มีผู้มาฝากตัวเป็นลูก-หลานกับคุณหญิงโมอยู่มาก ซึ่งเป็นกำลังและอำนาจส่งเสริมคุณหญิงโมให้ทำการใด ๆ ได้สำเร็จเสมอ หนึ่งในลูกหลานคนสำคัญที่มีส่วนร่วมกับคุณหญิงโม เข้ากอบกู้เมืองนครราชสีมาจากกองทัพเจ้าอนุวงศ์ เวียงจันทน์ ณ ทุ่งสัมฤทธิ์ คือ '''[[นางสาวบุญเหลือ]]'''<ref name="ประวัติ"/>
 
ท้าวสุรนารีเป็นคนมีสติปัญญาหลักแหลม เล่นหมากรุกเก่ง มีความชำนาญในการขี่ช้าง ขี่ม้า มีม้าตัวโปรดสีดำ และมักจะพาลูกหลานไปทำบุญที่วัดสระแก้วเป็นประจำเสมอ<ref name="ประวัติ"/>ท้าวสุรนารี ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อเดือน เมษายน [[พ.ศ. 2395]] (เดือน 5 ปีชวด จัตวาศก จศ. 1214) สิริรวมอายุได้ 81 ปี
[[ไฟล์:Seal Nakhon Ratchasima.png|thumb|150px|ตราประจำจังหวัดนครราชสีมา แสดงภาพอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารีและประตูชุมพล]]
 
== วีรกรรมและบำเหน็จความ ==